ภาษาบาโลจ
ภาษาบาโลจ

ภาษาบาโลจ

ภาษาบาโลจ เป็นภาษากลุ่มอิหร่านตะวันตกเฉียงเหนือ[3] ส่วนใหญ่พูดกันในบาโลชิสถาน มีผู้พูด 3 ถึง 5 ล้านคน[4] นอกจากปากีสถาน อิหร่าน และอัฟกานิสถานแล้ว ยังมีผู้พูดภาษานี้ในโอมาน รัฐอาหรับริมอ่าวเปอร์เซีย เติร์กเมนิสถาน แอฟริกาตะวันออก และสังคมพลัดถิ่นในส่วนอื่นของโลก[4] มีการเสนอแนะว่าต้นกำเนิดของภาษาบาโลจอยู่ในบริเวณรอบ ๆ ภูมิภาคแคสเปียนกลาง[5]

ภาษาบาโลจ

ภูมิภาค แคว้นบาโลชิสถาน
ตระกูลภาษา
จำนวนผู้พูด 6.3 ล้านคนในปากีสถาน (สำมะโน ค.ศ. 2017)[1]3–5 ล้านคนในปากีสถาน, อิหร่าน, อัฟกานิสถาน, อ่าวเปอร์เซีย, เติร์กเมนิสถาน (2011)[2]  (ไม่พบวันที่)
ISO 639-3 balรหัสรวม
รหัสเอกเทศ:
bgp — บาโลจตะวันออก
bgn — บาโลจตะวันตก
bcc — สำเนียงกัจฉ์ (บาโลจใต้)
ktl — สำเนียงโคโรชี
ISO 639-2 bal
ชาติพันธุ์ ชาวบาโลจ
ผู้วางระเบียบ บัณฑิตยสถานบาโลจ เควตตา ประเทศปากีสถาน
ระบบการเขียน อักษรบาโลจมาตรฐาน
ประเทศที่มีการพูด ปากีสถาน, อิหร่าน, อัฟกานิสถาน
Linguasphere 58-AAB-a > 58-AAB-aa (บาโลจตะวันออก) + 58-AAB-ab (บาโลจตะวันตก) + 58-AAB-ac (บาโลจใต้) + 58-AAB-ad (Bashkardi)