ทะเลแคสเปียน
ทะเลแคสเปียน

ทะเลแคสเปียน

ทะเลแคสเปียน (อังกฤษ: Caspian Sea) เป็นทะเลปิดที่อยู่ระหว่างทวีปเอเชียกับทวีปยุโรป มีเนื้อที่ผิวน้ำประมาณ 371,000 ตร.กม. และจุดลึกที่สุดลึกประมาณ 980 เมตรทะเลแคสเปียนมีลักษณะร่วมของทั้งทะเลและทะเลสาบ บางครั้งจึงได้ชื่อว่าเป็นทะเลสาบที่ใหญ่ที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามน้ำในทะเลแคสเปียนกลับไม่ได้เป็นน้ำจืด มีปริมาณเกลือประมาณ 1.2% ซึ่งคิดเป็น 1 ใน 3 ของปริมาณเกลือในน้ำทะเลทั่วไป[ต้องการอ้างอิง]

ทะเลแคสเปียน

ชุมชน บากู (อาเซอร์ไบจาน), แรชต์ (อิหร่าน), อัคเตา (คาซัคสถาน), มาฮัชคาลา (รัสเซีย), เติร์กเมนบาชี (เติร์กเมนิสถาน)
พื้นน้ำ 371,000 กม² (143,200 ไมล์²)
พื้นที่รับน้ำ 3,626,000 กม² (1,400,000 ไมล์²)[1]
ลึกสุด 1,025 เมตร
แหล่งน้ำไหลเข้า แม่น้ำวอลกา, แม่น้ำคูรา, แม่น้ำเตเรค
แหล่งน้ำไหลออก ระเหย
ลึกเฉลี่ย 187 เมตร
อ้างอิง [1]
เกาะ 26+ (see Island below)
เวลาพำนักของน้ำ 250 ปี
พิกัด 40°N 51°E / 40°N 51°E / 40; 51พิกัดภูมิศาสตร์: 40°N 51°E / 40°N 51°E / 40; 51
ความยาวชายฝั่ง1 7,000 กม.
สูงจากระดับน้ำทะเล -28 เมตร
ชนิด ทะเลปิด, น้ำเค็ม, เกิดตามธรรมชาติ
ช่วงกว้างสุด 435 กม.
ปริมาณน้ำ 69,400 กม³
ช่วงยาวสุด 1,030 กม.
ประเทศในลุ่มน้ำ ประเทศอาเซอร์ไบจาน, อิหร่าน, คาซัคสถาน, รัสเซีย, เติร์กเมนิสถาน