ระบบการเขียน ของ ภาษาโซ่_(ทะวืง)

ตัวเขียนภาษาโซ่ (ทะวืง) อักษรไทยตามที่คณะกรรมการจัดทำระบบเขียนภาษาท้องถิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ด้วยอักษรไทย สำนักงานราชบัณฑิตยสภา ได้กำหนดไว้ มีดังนี้

พยัญชนะ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
/k/ไก่
เล็เหล้ก
/kʰ/ค้จระเข้
/ŋ/งัวัว
ทั่ไม้
/c/จ้หมา
/s/ซีมือ
กุไฟ
/ɲ/ญีหัวใจ
/d/เรือ
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)แป้ปลูก
/t/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)ตื้ถ้วยชาม
/tʰ/ท็องกระสอบ
/n/นิ้คอ
กู้หมู
/b/นกฮูก
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)จุกีดขวาง (ใช้กับต้นไม้)
/p/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)ดอกไม้
/pʰ/พียงฟางข้าว
/m/มันัยน์ตา
เปพระจันทร์
/j/งเจักรยาน
นือยู่
/l/ลุงู
/w/ว้องหม้อ
อ้าเสื้อ
/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะต้น)อุบ้าน
/h/ฮ็อกคางคก
ติหนอน
ไม่มีรูป/ʔ/ (เมื่อเป็นพยัญชนะท้าย)ฮุรู้
สระ
อักษรไทยเสียงตัวอย่างคำความหมาย
–ะ/a/ (เมื่อออกเสียงสั้น ไม่มีพยัญชนะท้าย
และอยู่ในคำหลายพยางค์ หรือเมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)
ลู้นไข่
มัน (สรรพนาม)
–ั/a/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น)บัหน่อไม้
–า/a/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)ไก่
จ้ข้าวสุก
–ิ/i/ (เมื่อออกเสียงสั้น)ติหนอน
–ี/i/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)ตีไป
จีเท้า
–ึ/ɨ/ (เมื่อออกเสียงสั้น)บึเปิด
–ือ/ɨ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)จือจำ
–ื/ɨ/ (เมื่อออกเสียงยาวและมีพยัญชนะท้าย)ฮืบุหรี่
–ุ/u/ (เมื่อออกเสียงสั้น)ตุ่ถั่ว
–ู/u/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)ทูลึก
กู้หมู
เ–ะ/e/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)เตะ
เ–็/e/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น)เล็เหล็ก
เ–/e/ (เมื่อออกเสียงยาว)ปมพระจันทร์
แ–ะ/ɛ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)กะเกวียน
แ–็/ɛ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น)แล็เป็น
แ–/ɛ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)มี
ก้นมด, เอว
โ–ะ/o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)กะกะลา
โ–็/o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /h/ หรือ /w/)โก็คำ
โท็แก, มึง
โ–ะ (ลดรูป)/o/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น)กนคน
โ–/o/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)อะก้ข้าวสาร
องช้าง
เ–าะ/ɔ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)ซะาะทิ่ม, ตำ
–็อ/ɔ/ (เมื่อออกเสียงสั้นและมีพยัญชนะท้ายอื่น)ญ็อตั๊กแตนตำข้าว
–อ/ɔ/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้ายหรือเมื่อออกเสียงยาว)ลิง
ต่อ (แมลง)
เ–อะ/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายเป็น /ʔ/)อะนินทา
เ–อ/ə/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)เก้อใกล้
เ–ิ/ə/ (เมื่อมีพยัญชนะท้ายอื่น)เนิ้คอ
เ–อฺ/ʌ/เว้อฺบ้า
เ–า/aw/เจ้าเรา
เ–ีย/ia/เยียปลาไหล
–ัว/ua/ (เมื่อไม่มีพยัญชนะท้าย)กั้วผึ้ง
–ว–/ua/ (เมื่อมีพยัญชนะท้าย)อะยชวน
  • การเลือกใช้รูปสระสั้นหรือยาวเป็นไปตามการออกเสียงของเจ้าของภาษา
    ซึ่งไม่สามารถระบุเงื่อนไขการเกิดเสียงสั้นและยาวได้[5]
ลักษณะน้ำเสียง
อักษรไทยลักษณะน้ำเสียงตัวอย่างคำความหมาย
ไม่มีรูปปกติกาไก่
แกนแตงกวา
–่ทุ้มต่ำทั่ไม้
ฮ่านห่าน
–้สูงบีบก้ปลา
ก้ครกตำข้าว