ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์
ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์

ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์

Estimates of other historians: 30,000–33,000 killed[2][3]ค.ศ. 1942ค.ศ. 1943ค.ศ. 1944ค.ศ. 1945การสงครามทางเรือ:ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์  (เยอรมัน: Schlacht um die Seelower Höhen) เป็นส่วนหนึ่งของปฏิบัติการรุกซีโลว์-เบอร์ลิน (วันที่ 16 เมษายน-2 พฤษาภาคม 1945) การรบบนยอดเขาสูง เป็นหนึ่งในการจู่โจมครั้งสุดท้ายในตำแหน่งป้องกันที่ยึดมั่นที่มีขนาดใหญ่ของสงครามโลกครั้งที่สอง เป็นการสู้รบกันตั้งสามวัน ตั้งแต่วันที่ 16-19 เมษายน ค.ศ. 1945 จำนวนทหารโซเวียตเกือบหนึ่งล้านนายของแนวรบเบียโลรัสเซียที่ 1 (รวมถึงทหารของกองทัพโปแลนด์ที่ 1 จำนวน 78,556 นาย) ภายใต้การบัญชาของเกออร์กี จูคอฟ การโจมตีตำแหน่งนี้ได้เป็นที่รู้จักกันคือ "ประตูสู่เบอร์ลิน" พวกเขาได้ถูกต้านทานจากทหารจำนวนประมาณ 110,000 นายของกองทัพเยอรมันที่ 9 ภายใต้การบัญชาของนายพลเทโอดอร์ บูสเซอ (Theodor Busse) จากส่วนหนึ่งของกองทัพกลุ่มวิสตูลาการรบครั้งนี้มักถูกรวมอยู่ในยุทธการที่โอดอร์-ไนส์เซอ ที่ราบสูงซีโลว์เป็นที่มีการสู้รบกันอย่างดุเดือดที่สุดในสนามรบ แต่ก็เป็นเพียงหนึ่งในจุดข้ามหลายทางที่ไปตามแม่น้ำโอดอร์และไนส์เซอที่กองทัพโซเวียตโจมตี การรบที่โอดอร์-ไนส์เซอเป็นเพียงการเปิดฉากของการรบที่กรุงเบอร์ลินผลลัพธ์คือกองทัพที่ 9 ถูกล้อมอย่างสิ้นเชิงและเกิดการสู้รบกันที่ฮัลเบอ (Battle of Halbe)

ยุทธการที่ราบสูงซีโลว์

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่16–19 เมษายน 1945
สถานที่ที่ราบสูงซีโลว์, เยอรมนี
ผลลัพธ์โซเวียต/โปแลนด์ได้รับชัยนะ
สถานที่ ที่ราบสูงซีโลว์, เยอรมนี
ผลลัพธ์ โซเวียต/โปแลนด์ได้รับชัยนะ
วันที่ 16–19 เมษายน 1945

ใกล้เคียง

ยุทธการที่เดียนเบียนฟู ยุทธการที่เซกิงาฮาระ ยุทธการที่มอสโก ยุทธการที่เซี่ยงไฮ้ ยุทธการที่อิเหลง ยุทธการที่สตาลินกราด ยุทธการที่ฝรั่งเศส ยุทธการที่โอกินาวะ ยุทธการที่เทอร์มอพิลี ยุทธการที่วอเตอร์ลู