การรักษา ของ รอยโรคแบงคาร์ต

การแก้ไขในข้อสำหรับการบาดเจ็บแบงคาร์ตมีอัตราสำเร็จสูง กระนั้น เกือบหนึ่งในสามอาจต้องได้รับการผ่าตัดแก้ไขเพิ่มเติมเพื่อรักษาความไม่มั่นคงที่จะยังคงอยู่ (continued instability) หลังการผ่าตัดแรก อัตราการต้องผ่าตัดแก้ไขนี้เพิ่มขึ้นในกรณีที่อายุต่ำกว่า 20 ปี[7] การผ่าตัดแก้ไขสามารถใช้วิธีส่องกล้องเข้าทางข้อ หรือผ่านหัตถการลาทาร์เจ็ตซึ่งลุกลามและต้องผ่าเปิด[8] วิธีหลังนี้มีแนวโน้มในการเกิดกระดูกเคลื่อนซ้ำต่ำ แต่อาจมีระยะการเคลื่อนไหวที่ลดลงหลังการผ่าตัด[9]

ใกล้เคียง

รอยโรคของเซลล์ประสาทสั่งการส่วนบน รอยโรคแบงคาร์ต รอยโรคฮิลล์–แซ็กส์ รอยโรค รอยโรคของเซลล์ประสาทสั่งการส่วนล่าง รอยรักรอยบาป รอยประสาน (กายวิภาคศาสตร์) รอยประสานท้ายทอย รอยประสานคร่อมขม่อมหน้า รอยรักรอยร้าว

แหล่งที่มา

WikiPedia: รอยโรคแบงคาร์ต https://books.google.com/books?id=27e1DwAAQBAJ&dq=... https://doi.org/10.1111%2Fj.1445-2197.2006.03760.x https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/16768763 https://api.semanticscholar.org/CorpusID:42257934 https://doi.org/10.1053%2Fjars.2002.35266 https://www.worldcat.org/issn/0749-8063 https://pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/12209435 https://web.archive.org/web/20110726184922/http://... http://thesteadmanclinic.com/shoulder3/diag.asp http://www.whonamedit.com/doctor.cfm/835.html