สถานีโทรทัศน์ในอดีต ของ รายชื่อสถานีโทรทัศน์ในประเทศไทย

สถานีโทรทัศน์ภาคพื้นดิน (ส่วนภูมิภาค)

  • สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดลำปาง - ดำเนินการโดย สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 กรมประชาสัมพันธ์ ต่อมา สำนักประชาสัมพันธ์เขต 3 ย้ายที่ทำการจากจังหวัดลำปาง ไปสู่จังหวัดเชียงใหม่ ส่งผลให้ต้องยกเลิกการออกอากาศรายการโทรทัศน์ที่จังหวัดลำปาง โดยออกอากาศรายการโทรทัศน์จากจังหวัดเชียงใหม่แทน และปรับปรุงระบบการบริหารงาน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดเชียงใหม่ (2 เมษายน พ.ศ. 2505 - 29 ธันวาคม พ.ศ. 2543) [4]
  • สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดระยอง - ดำเนินการโดย สำนักประชาสัมพันธ์เขต 7 กรมประชาสัมพันธ์ ต่อมา สำนักประชาสัมพันธ์เขต 7 ย้ายที่ทำการจากจังหวัดระยอง ไปสู่จังหวัดจันทบุรี ส่งผลให้ต้องต้องยกเลิกการออกอากาศที่จังหวัดระยอง โดยออกอากาศจากจังหวัดจันทบุรีแทน และปรับปรุงระบบการบริหารงาน จึงเปลี่ยนชื่อเป็น สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จังหวัดจันทบุรี (9 มีนาคม พ.ศ. 2541 - 31 ตุลาคม พ.ศ. 2547) [5]

สถานีโทรทัศน์ระบบบอกรับเป็นสมาชิก

สถานีโทรทัศน์ผ่านระบบดาวเทียม

  • สถานีโทรทัศน์ อาร์เอสยู วิสดอม ทีวี สถานีโทรทัศน์แห่งมหาวิทยาลัยรังสิต
  • สถานีโทรทัศน์พีทีวี - ดำเนินการโดย บริษัท เพื่อนพ้องน้องพี่ จำกัด (พ.ศ. 2550-พ.ศ. 2551)
  • สถานีประชาธิปไตย และ สถานีประชาชน - ดำเนินการโดย บริษัท ดี-สเตชัน จำกัด ออกอากาศผ่านระบบดาวเทียม และเป็นช่องรายการในสถานีโทรทัศน์เคเบิลในส่วนภูมิภาค (19 มกราคม-12 เมษายน พ.ศ. 2552 และ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2552-9 เมษายน พ.ศ. 2553)
  • โทรทัศน์ดาวเทียมมหาดไทย
  • บางกอกซิตีแชนแนล (Bangkok City Channel) - ดำเนินการโดย อปท.กรุงเทพมหานคร
  • แอร์ฟอร์ซแชนเนล - ดำเนินการโดย สำนักบริหารงานกิจการโทรทัศน์กองทัพอากาศ (สิงหาคม พ.ศ. 2550)
  • ฟาร์มแชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท ฟาร์มแชนเนล (ประเทศไทย) จำกัด ในเครือบริษัท กันตนากรุ๊ป จำกัด (มหาชน) ออกอากาศผ่านระบบดาวเทียม และเป็นช่องรายการในโทรทัศน์เคเบิลส่วนภูมิภาค ถือเป็นช่องโทรทัศน์เพื่อการเกษตรแห่งแรกของประเทศไทย (พ.ศ. 2552)
  • กรีนแชนแนล - ดำเนินการโดย บริษัท จีเอ็มเอ็มทีวี จำกัด
  • ช่อง 6 - ดำเนินการโดย บริษัท เวิร์คพอยท์ เอ็นเทอร์เทนเมนท์ จำกัด นำเสนอรายการการ์ตูนแอนิเมชัน (1 มีนาคม พ.ศ. 2556 - 1 มกราคม พ.ศ. 2558)
  • แอ็กซ์แชนแนล
  • ไทยทีวี - ดำเนินการโดย บริษัท ไทยทีวี จำกัด
  • โลก้า - ดำเนินการโดย บริษัท ไทยทีวี จำกัด
  • แบงแชนแนล - ดำเนินการโดย บริษัท จีเอ็มเอ็มทีวี จำกัด
  • จีทีเอชออนแอร์ - ดำเนินการโดย บริษัท จีเอ็มเอ็ม ไท-หับ จำกัด
  • เพลินทีวี
  • ป๊อปทีวี (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 - 1 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
  • ตูนแชนแนล - ดำเนินการโดย บริษัท ทรูวิชันส์ จำกัด (มหาชน) นำเสนอรายการการ์ตูนแอนิเมชัน (22 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 - 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2559)
  • ทีนิวส์ทีวี - ดำเนินการโดย บริษัท สำนักข่าวทีนิวส์ จำกัด (มิถุนายน พ.ศ. 2553-30 กันยายน พ.ศ. 2559)
  • มีเดียส์ 84 - ดำเนินการโดย บริษัท มีเดียซีน จำกัด นำเสนอละครโทรทัศน์ ภาพยนตร์และรายการต่างๆ ซึ่งเคยออกอากาศทางสถานีโทรทัศน์สีกองทัพบกช่อง 7 (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551 - 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2559)
  • ธรรมะมีเดียแชนเนล - ดำเนินการโดย มูลนิธิศึกษาธรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม ของวัดพระธรรมกาย (9 พฤษภาคม พ.ศ. 2545 - 7 ธันวาคม พ.ศ. 2559)
  • เครือข่ายโทรทัศน์ดาวเทียมเอ็มคอต - ดำเนินการโดย บริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)
    • เอ็มคอตวัน - นำเสนอข่าวสาร, รายการบันเทิง และสารคดี (9 เมษายน พ.ศ. 2550 - 1 มกราคม พ.ศ. 2560)
    • เอ็มคอตเวิลด์ - นำเสนอข่าวสาร, รายการบันเทิง และสารคดี เป็นภาษาอังกฤษตลอด 24 ชั่วโมง (12 สิงหาคม พ.ศ. 2555 - 15 ตุลาคม พ.ศ. 2559)
  • ไทยไชโย - ดำเนินรายการโดย บริษัท ไทยไชโย ทีวี จำกัด (17 พฤษภาคม พ.ศ. 2548 - 31 สิงหาคม พ.ศ. 2560)
  • แก๊งการ์ตูนแชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท โรสเอ็นเตอร์เทนเมนต์คอร์ปอเรชัน จำกัด นำเสนอรายการการ์ตูนแอนิเมชัน (23 กันยายน พ.ศ. 2551 - 31 ธันวาคม พ.ศ. 2560)
  • มิราเคิล - ดำเนินการโดย บริษัท กันตนา กรุ๊ป จำกัด (มหาชน) (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2552 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2561)
  • สยามสปอร์ตแชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท สยามสปอร์ตเทเลวิชัน จำกัด ในเครือบริษัท
    • สยามสปอร์ตซินดิเคท จำกัด (มหาชน) (1 กรกฎาคม พ.ศ. 2556)
    • สยามสปอร์ตไลฟว์ (Siamsport Live) - นำเสนอไฮไลต์กีฬาต่างประเทศหลายชนิด เกาะติดสถานการณ์เบื้องหน้าเบื้องหลัง ของการแข่งขันกีฬาที่สำคัญ พร้อมทั้งการถ่ายทอดสด การแข่งขันกีฬาหลายรายการ (เดิมคือช่อง "สยามกีฬาทีวี" ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 19 เมษายน พ.ศ. 2550)
    • สยามสปอร์ตนิวส์ (Siamsport News) - นำเสนอข่าวสารและสาระบันเทิง พร้อมทั้งรายงานสดข่าวด่วน ทันเหตุการณ์ จากขอบสนามถึงหน้าจอโทรทัศน์ โดยคณะผู้สื่อข่าวมืออาชีพ ผู้มีความรู้และมีชื่อเสียงทางกีฬาทุกประเภท (เดิมคือช่อง ** "ฟุตบอลสยามทีวี" ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2553)
    • สยามสปอร์ตฟุตบอล (Siamsport Football) - นำเสนอข่าวสารกีฬาฟุตบอล ทั้งของไทยและต่างประเทศ พร้อมบทวิเคราะห์วิจารณ์ จากผู้เชี่ยวชาญชั้นนำในเชิงลูกหนัง พร้อมทั้งการถ่ายทอดสด ฟุตบอลลีกอาชีพของไทยในทุกรายการ (เดิมคือช่อง "สตาร์ซอคเก้อร์ทีวี" ออกอากาศครั้งแรกเมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2553)
  • ทูนามิเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ - ดำเนินการโดย เทอร์เนอร์บรอดแคสติงซิสเตม (เอเชียแปซิฟิก), อินค์. นำเสนอรายการการ์ตูนแอนิเมชัน (1 ธันวาคม พ.ศ. 2555 - 31 มีนาคม พ.ศ. 2561)
  • สปีดแชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท บรอดคาสต์ไทยเทเลวิชัน จำกัด และบริษัท เซิร์ช เอ็นเตอร์เทนเมนต์ จำกัด นำเสนอรายการเกี่ยวกับรถยนต์ และการแข่งขันรถยนต์แบบต่างๆ (1 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553)
  • ทีวี 24 (เดิมชื่อ เอเชียอัปเดต) - ดำเนินการโดย บริษัท เดโมเครซีนิวส์เน็ตเวิร์ก จำกัด นำเสนอรายการข่าวสาร และสาระบันเทิงตลอด 24 ชั่วโมง (5 กรกฎาคม พ.ศ. 2553 - 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2561)
  • ดี-แชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท ดีทีวีเซอร์วิส จำกัด ในเครือบริษัท ไทยคม จำกัด (มหาชน)
  • โทรทัศน์สื่อกลางไทย-จีน (Thai-China Central Television; TCCTV) - ดำเนินการโดย บริษัท ไทย-ไชนีส เซ็นทรัลเทเลวิชันกรุ๊ป จำกัด (28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552)
  • เอ็มวีทีวีแฟมิลี - ดำเนินการโดย บริษัท เอ็มวีเทเลวิชั่น (ไทยแลนด์) จำกัด
  • การ์ตูนคลับแชนเนล - ดำเนินการโดย บริษัท การ์ตูนคลับมีเดีย จำกัด ในเครือบริษัท เอฟฟ์ จำกัด นำเสนอรายการการ์ตูนแอนิเมชัน (1 มีนาคม พ.ศ. 2552 - 1 มีนาคม พ.ศ. 2563)

สถานีโทรทัศน์อินเทอร์เน็ต

ใกล้เคียง

รายชื่อตอนในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน (แอนิเมชัน) รายชื่อสถานีรถไฟ สายใต้ รายชื่อตัวละครในวันพีซ รายชื่อตอนในวันพีซ (อนิเมะ) รายชื่อสัตว์ รายชื่อเขตของกรุงเทพมหานคร รายชื่อสมาชิกบีเอ็นเคโฟร์ตีเอต รายชื่อสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย รายชื่อสถานีรถไฟ สายเหนือ รายชื่อตัวละครในยอดนักสืบจิ๋วโคนัน