ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ_พ.ศ._2564
ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ_พ.ศ._2564

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ_พ.ศ._2564

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดีย พ.ศ. 2564 คือรอบของพายุหมุนเขตร้อน ที่กำลังมีการก่อตัวในมหาสมุทรอินเดียเหนือในอดีต ซึ่งไม่มีการกำหนดฤดูอย่างเป็นทางการ แต่พายุไซโคลนมีแนวโน้มก่อตัวระหว่างเดือนเมษายนถึงธันวาคม โดยมีอัตราสูงที่สุดตั้งแต่เดือนพฤษภาคมถึงพฤศจิกายน ขอบเขตของบทความนี้จะถูกจำกัดอยู่ในมหาสมุทรอินเดียที่อยู่ในซีกโลกเหนือ ทางทิศตะวันออกของจะงอยแอฟริกาและทางทิศตะวันตกของคาบสมุทรมลายู โดยมีสองทะเลหลักอยู่ในมหาสมุทรอินเดียเหนือ คือ ทะเลอาหรับ ไปทางตะวันตกของอนุทวีปอินเดีย ถูกเรียกอย่างย่อว่า ARB โดยกรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD); และอ่าวเบงกอล ไปทางตะวันออก เรียกอย่างย่อว่า BOB โดย IMDผู้ที่รับผิดชอบอย่างเป็นทางการในแอ่งนี้ตามศูนย์อุตุนิยมวิทยาชำนัญพิเศษประจำภูมิภาค คือ กรมอุตุนิยมวิทยาอินเดีย (IMD) ขณะที่ศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่นจะออกคำเตือนอย่างไม่เป็นทางการในภูมิภาคนี้ โดยเฉลี่ยแล้วแอ่งนี้จะมีพายุก่อตัว 4-6 ลูกในทุกฤดูกาล[1][2]

ฤดูพายุไซโคลนมหาสมุทรอินเดียเหนือ_พ.ศ._2564

พายุไซโคลนกำลังแรง 3 ลูก
• ความกดอากาศต่ำที่สุด 950 hPa (มิลลิบาร์)
ผู้เสียชีวิตทั้งหมด ทั้งหมด 241 คน
• ลมแรงสูงสุด 195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.)
(เฉลี่ย 3 นาที)
พายุดีเปรสชัน 8 ลูก
ชื่อ เตาะแต่
พายุไซโคลน 4 ลูก
พายุไซโคลนกำลังแรงมาก 2 ลูก
ความเสียหายทั้งหมด 5.31 พันล้านดอลลาร์สหรัฐ
(ค่าเงิน USD ปี 2021)
ระบบแรกก่อตัว 2 เมษายน พ.ศ. 2564
ระบบสุดท้ายสลายตัว ฤดูกาลกำลังดำเนินอยู่
พายุดีเปรสชันหมุนเร็ว 5 ลูก

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545