พายุ ของ ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2521

ในปีนี้ มหาสมุทรแปซิฟิกตะวันตกมีพายุดีเปรสชันเขตร้อน 33 ลูก ในจำนวนนี้ 29 ลูก พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน ในจำนวนพายุโซนร้อน พัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่น 15 ลูก และในจำนวนนั้น 1 ลูกพัฒนาเป็นถึงพายุซูเปอร์ไต้ฝุ่น[1]

พายุโซนร้อนกำลังแรงเนดีน

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา6 – 13 มกราคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
970 mbar (hPa; 28.64 inHg)

พายุไต้ฝุ่นโอลีฟ (อาตัง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 26 เมษายน
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
955 mbar (hPa; 28.2 inHg)

ในประเทศฟิลิปปินส์ พายุไต้ฝุ่นโอลีฟ หรือพายุไต้ฝุ่นอาตังทำให้มีผู้เสียชีวิตจำนวน 3 คน และอีก 3,500 คนต้องไร้ที่อยู่อาศัย[2] อดีตเรือ "FS" ของคอมปาเนียมาริติมาก็ติดอยู่ในเหตุการณ์นี้ด้วย โดยอัปปางลงทางตะวันตกเฉียงใต้ของเกาะซิบูยัน หลังจากพยายามไปยังสถานหลับภัย หลังจากเดินทางมาจากมะนิลา-เชบู[3]

พายุโซนร้อนพอลลี (บีซิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา13 – 20 มิถุนายน
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุโซนร้อนโรส (กลาริง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา21 – 24 มิถุนายน
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุโซนร้อนเชอร์ลีย์ (เดลิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา26 – 30 มิถุนายน
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
992 mbar (hPa; 29.29 inHg)

พายุไต้ฝุ่นทริกซ์

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา11 – 23 กรกฎาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุไต้ฝุ่นเวอร์จิเนีย

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา22 กรกฎาคม – 2 สิงหาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

พายุโซนร้อนกำลังแรงแอกเนส

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา24 – 30 กรกฎาคม
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
980 mbar (hPa; 28.94 inHg)

พายุแอกเนสก่อตัวเมื่อวันที่ 24 กรกฎาคม จากนั้นเคลื่อนตัวเป็นวงกลม และขึ้นฝั่งประเทศจีนในวันที่ 29 กรกฎาคม[1] และสลายตัวไปในวันที่ 30 กรกฎาคม ในฮ่องกงพายุโซนร้อนแอกเนสทำให้มีผู้เสียชีวิต 3 คน[4]

พายุโซนร้อนบอนนี (กาดิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 12 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุไต้ฝุ่นคาร์เมน (อีเลียง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
970 mbar (hPa; 28.64 inHg)

พายุโซนร้อนเดลลา (เฮลิง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 13 สิงหาคม
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
985 mbar (hPa; 29.09 inHg)

พายุโซนร้อน 13W

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา14 – 20 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
999 mbar (hPa; 29.5 inHg)

พายุไต้ฝุ่นเอเลน (มีดิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา18 – 28 สิงหาคม
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุไต้ฝุ่นเฟย์

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 3 (SSHWS)
ระยะเวลา25 สิงหาคม – 7 กันยายน
ความรุนแรง165 กม./ชม. (105 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
935 mbar (hPa; 27.61 inHg)

พายุโซนร้อนกลอเรีย (โอยัง)

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา28 – 31 สิงหาคม
ความรุนแรง75 กม./ชม. (45 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
992 mbar (hPa; 29.29 inHg)

พายุโซนร้อนเฮสเตอร์

พายุโซนร้อน (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา28 สิงหาคม – 1 กันยายน
ความรุนแรง85 กม./ชม. (50 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุไต้ฝุ่นเออร์มา (รูปิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา9 – 15 กันยายน
ความรุนแรง120 กม./ชม. (75 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
970 mbar (hPa; 28.64 inHg)

เออร์มาเป็นพายุไต้ฝุ่นลูกที่แปดของฤดู ก่อตัวขึ้นในร่องมรสุมทางตะวันออกเฉียงใต้ของไต้หวัน[5] เออร์มาพัดขึ้นฝั่งในเกาะฮนชู ประเทศญี่ปุ่น ด้วยความเร็วลม 120 กม./ชม. พายุไต้ฝุ่นเออร์มาทำให้มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 6 คน และอีก 3,000 คนต้องไร้ที่อยู่อาศัย มีผู้สูญหาย 4 คน และบาดเจ็บอีก 100 คน จากอุทกภัยและดินถล่มในภาคตะวันตกเฉียงใต้ของญี่ปุ่น[6] ทำให้บ้านเรือน 1,597 หลังถูกทำลายหรือได้รับความเสียหาย และอีก 6,266 หลังประสบอุทกภัย[7] เออร์มาทำให้กระจกหลายบานแตก รถยนต์พลิกคว่ำ และเรืออัปปางหลายลำ นักกีฬาหลายคนในกีฬามิตรภาพญี่ปุ่นจีนที่จัดขึ้นที่คิตะกีวชูได้รับบาดเจ็บ เรือบรรทุกน้ำมันจดทะเบียนสัญชาติไลบีเรียถูกพัดออกไปจากท่าเทียบจอดในท่าเรือเมืองคูเระ จังหวัดฮิโรชิมะ โดยลอยออกไปกว่า 5 กิโลเมตรก่อนจะไปติดเกาะเล็ก ๆ ในทะเลเซโตะใน[6] เออร์มามีสถานะเป็นพายุไต้ฝุ่นเพียง 12 ชั่วโมง ทำให้มันเป็นพายุที่มีช่วงที่เป็นพายุไต้ฝุ่นสั้นที่สุดของฤดูกาล[5]

พายุไต้ฝุ่นจูดี

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา9 – 17 กันยายน
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
950 mbar (hPa; 28.05 inHg)

พายุโซนร้อนกำลังแรงคิต

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา20 – 26 กันยายน
ความรุนแรง95 กม./ชม. (60 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
990 mbar (hPa; 29.23 inHg)

พายุไต้ฝุ่นลอลา (เวลิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา20 กันยายน – 2 ตุลาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
965 mbar (hPa; 28.5 inHg)

พายุไต้ฝุ่นแมมี

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 1 (SSHWS)
ระยะเวลา29 กันยายน – 4 ตุลาคม
ความรุนแรง130 กม./ชม. (80 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
960 mbar (hPa; 28.35 inHg)

พายุโซนร้อนกำลังแรงนีนา (อานิง)

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา6 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

จากรายงานของทางการฟิลิปปินส์ มีผู้เสียชีวิต 59 คน และมากกว่า 500,000 คนต้องอพยพไปยังศูนย์หลบภัย[8]

พายุไต้ฝุ่นออรา (ยานิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 15 ตุลาคม
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
940 mbar (hPa; 27.76 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 25W

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา8 – 12 ตุลาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
999 mbar (hPa; 29.5 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 26W (บีดัง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา10 – 16 ตุลาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)

พายุไต้ฝุ่นฟิสลิส

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 2 (SSHWS)
ระยะเวลา13 – 22 ตุลาคม
ความรุนแรง150 กม./ชม. (90 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
955 mbar (hPa; 28.2 inHg)

พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นริตา (กาดิง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุซูเปอร์ไต้ฝุ่นระดับ 5 (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 29 ตุลาคม
ความรุนแรง220 กม./ชม. (140 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
878 mbar (hPa; 25.93 inHg)

พายุโซนร้อนลูกที่ 27

พายุโซนร้อน (JMA)
ระยะเวลา30 ตุลาคม – 3 พฤศจิกายน
ความรุนแรง65 กม./ชม. (40 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
994 mbar (hPa; 29.35 inHg)

พายุโซนร้อนกำลังแรงเทสส์

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา31 ตุลาคม – 6 พฤศจิกายน
ความรุนแรง110 กม./ชม. (70 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
975 mbar (hPa; 28.79 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน 30W (เดลัง)

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
พายุดีเปรสชันเขตร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา15 – 20 พฤศจิกายน
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
1002 mbar (hPa; 29.59 inHg)

พายุไต้ฝุ่นไวโอลา (เอซัง)

พายุไต้ฝุ่น (JMA)
พายุไต้ฝุ่นระดับ 4 (SSHWS)
ระยะเวลา16 – 24 พฤศจิกายน
ความรุนแรง195 กม./ชม. (120 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
910 mbar (hPa; 26.87 inHg)

พายุโซนร้อนกำลังแรงวินนี

พายุโซนร้อนกำลังแรง (JMA)
พายุโซนร้อน (SSHWS)
ระยะเวลา25 – 30 พฤศจิกายน
ความรุนแรง100 กม./ชม. (65 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
980 mbar (hPa; 28.94 inHg)

พายุดีเปรสชันเขตร้อนการ์ดิง

พายุดีเปรสชันเขตร้อน (PAGASA)
ระยะเวลา13 – 16 ธันวาคม
ความรุนแรง55 กม./ชม. (35 ไมล์/ชม.) (เฉลี่ย 10 นาที)
ไม่ทราบความกดอากาศ

ใกล้เคียง

ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2566 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2565 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2556 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2562 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2544 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2563 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2560 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2561 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2546 ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก พ.ศ. 2545

แหล่งที่มา

WikiPedia: ฤดูพายุไต้ฝุ่นแปซิฟิก_พ.ศ._2521 http://trove.nla.gov.au/newspaper/article/11089426... http://trove.nla.gov.au/newspaper/article/11091007... http://trove.nla.gov.au/newspaper/article/11091621... http://archives.chicagotribune.com/1978/09/16/page... http://www.hko.gov.hk/informtc/historical_tc/cdtc.... http://www.dtic.mil/dtic/tr/fulltext/u2/a399638.pd... http://www.usno.navy.mil/NOOC/nmfc-ph/RSS/jtwc/atc... https://psssonline.wordpress.com/tag/typhoon-atang... https://web.archive.org/web/20110606234939/http://...