ศาลาพระเกี้ยว
ศาลาพระเกี้ยว

ศาลาพระเกี้ยว

ศาลาพระเกี้ยว เป็นอาคารเอนกประสงค์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย สร้างในปี พ.ศ. 2508[1] ใช้เป็นสถานที่จัดกิจกรรมของมหาวิทยาลัยหลายอย่าง เช่น จุฬาฯวิชาการ ชั้นใต้ดินเป็นศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ลักษณะภายนอกของศาลาพระเกี้ยวเป็นสถาปัตยกรรมสมัยใหม่ รูปทรงคล้ายพระเกี้ยว ในปี พ.ศ. 2559 ศาลาพระเกี้ยวได้รับการคัดเลือกให้รับรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่นจากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์[2]

ศาลาพระเกี้ยว

สถาปนิก หม่อมเจ้าโวฒยากร วรวรรณ
เลิศ อุรัสยะนันทน์
เมือง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ถนนพญาไท แขวงปทุมวัน เขตปทุมวัน กรุงเทพมหานคร 10330
ประเภท อาคารเอนกประสงค์
ประเทศ ประเทศไทย
สถานะ ปิดปรับปรุง
รางวัล รางวัลอนุรักษ์ศิลปะสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจำปี 2559 จากสมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมภ์
โครงสร้าง คอนกรีตเสริมเหล็กและไม้
ปรับปรุง ครั้งแรก พ.ศ. 2522
ครั้งที่สอง พ.ศ. 2557
พิกัด 13°44′08″N 100°31′53″E / 13.735487°N 100.531432°E / 13.735487; 100.531432พิกัดภูมิศาสตร์: 13°44′08″N 100°31′53″E / 13.735487°N 100.531432°E / 13.735487; 100.531432
เริ่มสร้าง พ.ศ. 2508
แล้วเสร็จ พ.ศ. 2509
แบบสถาปัตยกรรม สถาปัตยกรรมสมัยใหม่
วิศวกร รชฎ กาญจนะวณิชย์

ใกล้เคียง

ศาลาพระเกี้ยว ศาลพระกาฬ (จังหวัดลพบุรี) ศาลพระภูมิ ศาลาเฉลิมกรุง ศาลาเครื่องราชอิสริยยศ เครื่องราชอิสริยาภรณ์ และเหรียญกษาปณ์ ศาลาเฉลิมไทย ศาลาการเปรียญ ศาลาว่าการกรุงบรัสเซลส์ ศาลาแดง ศาลาแก้วกู่

แหล่งที่มา

WikiPedia: ศาลาพระเกี้ยว //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... http://www.civil.eng.chula.ac.th/news/2014/03/14/2... http://www.memohall.chula.ac.th/ http://www.memohall.chula.ac.th/article/%E0%B8%A8%... http://www.prm.chula.ac.th/cen31.html http://www.prm.chula.ac.th/projects.html http://www.chula.ac.th/th/archive/42119 http://www.iurban.in.th/inspiration/basic-of-the-p... http://www.asa.or.th/en http://www.asa.or.th/en/node/140800