การใช้งานหลังโอลิมปิก ของ สนามกีฬาลอนดอน

เมื่อวันที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553 (ค.ศ. 2010) มีการประกาศสองข้อเสนอสุดท้าย ที่จะได้รับการพิจารณาให้เข้าใช้สนาม หลังการแข่งขันโอลิมปิก ประกอบด้วย

โดยการประมูลก่อนหน้านี้ ยังคงความจุของสนามที่ 80,000 ที่นั่ง ทว่าต่อมาภายหลังมีการลดลงเป็น 60,000 ที่นั่ง[11] ต่อมาในวันที่ 11 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554 สโมสรเวสต์แฮมได้รับเลือกให้เป็นผู้ชนะการประมูล จึงเป็นผู้มีสิทธิใช้สนามแห่งนี้ในสถานะของสนามฟุตบอล ภายหลังสิ้นสุดการแข่งขัน[12]

ภาพภายในสนามกีฬาโอลิมปิกลอนดอน ก่อนหน้าพิธีเปิดสนามอย่างเป็นทางการ ในวันที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2555

ใกล้เคียง

สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ สนามกีฬาเวมบลีย์ สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต สนามกีฬาลอนดอน สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี สนามกีฬาเครสตอฟสกี สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์)

แหล่งที่มา

WikiPedia: สนามกีฬาลอนดอน http://www.gamesbids.com/eng/other_news/1216135963... http://www.london-stadium.com http://www.london2012.com http://www.london2012.com/venue/olympic-stadium //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... http://www.bbc.co.uk/news/uk-england-london-117464... http://www.bbc.co.uk/news/uk-england-london-124245... http://www.building.co.uk/story.asp?sectioncode=58... http://www.e-architect.co.uk/london/london_olympic... https://www.london-stadium.com/faq/