ประวัติ ของ สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน

การก่อสร้างเริ่มต้นขึ้นเมื่อวันที่ 8 กุมภาพันธ์ ค.ศ. 1960 และเสร็จในวันที่ 21 กรกฎาคม ค.ศ. 1962[3] โดยการก่อสร้างได้รับเงินสนันบสนุนจากการกู้เงินมาจากสหภาพโซเวียตในบางส่วน โดยเมื่อสนามสร้างเสร็จ สามารถจุผู้ชมได้มากถึง 108,000 คน แต่ในปัจจุบันก็เหลือเพียง 88,083 คน จากการปรับปรุงเพื่อการแข่งขันเอเชียนคัพ 2007[4] โดยสนามจะแบ่งเป็น 24 ส่วน กับ 12 ทางเข้า เพื่อเข้าไปในพื้นที่ส่วนบนและส่วนล่าง โดยคุณสมบัติพิเศษของสนามนี้คือการก่อสร้างหลังคาเหล็กขนาดใหญ่เป็นวงแหวนรอบสนาม โดยเรียกว่า "เตอมูเกอลัง" (แปลว่า แหวนที่บรรจบติดกัน) นอกจากการที่ไม่ให้ผู้ชมต้องนั่งชมตากแดดที่ร้อนแล้ว วัตถุประสงค์อีกอย่างหนึ่งก็คือ การที่ทำให้สนามนี้ดูยิ่งใหญ่อีกด้วย[5]

ใกล้เคียง

สนามกีฬาซิตีออฟแมนเชสเตอร์ สนามกีฬาเวมบลีย์ สนามกีฬาไทย-ญี่ปุ่น ดินแดง สนามกีฬาธรรมศาสตร์ รังสิต สนามกีฬาลอนดอน สนามกีฬาซานเตียโก เบร์นาเบว สนามกีฬานานาชาติโยโกฮามะ สนามกีฬาสมโภชเชียงใหม่ 700 ปี สนามกีฬาเครสตอฟสกี สนามกีฬากองทัพอากาศ (ธูปะเตมีย์)

แหล่งที่มา

WikiPedia: สนามกีฬาหลักเกอโลราบุงการ์โน http://www.asiarooms.com/travel-guide/indonesia/ja... http://www.gelorabungkarno.co.id/ http://books.google.co.id/books?id=-mvqG8YbuHQC&pg... http://search.japantimes.co.jp/cgi-bin/sp20070721m... //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... //tools.wmflabs.org/geohack/geohack.php?pagename=%... http://www.free-football.tv/news/Indonesia-Bahrain... https://reservation.gbk.id/venue/id_stadion-utama-... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Gelora...