นิยาม ของ สนามแม่เหล็ก

Neutal point :   จุดเป็นกลาง

เป็นจุดที่ความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็กเป็นศูนย์  เกิดจากมีสนามแม่เหล็ก  2  สนามหรือมากกว่า  มีปฏิกิริยาต่อกันและกันด้วยอำนาจที่เท่ากัน  แต่ทิศตรงกันข้าม แท่งแม่เหล็กที่แขวนตามเมริเดียนแม่เหล็ก  โดยที่ขัวใต้  ชี้ทิศเหนือจะมีจุดสะเทิน  2   จุด  ในแนวแกนแม่เหล็ก

สนามแม่เหล็กนั้นถูกนิยามขึ้นตามแรงที่มันกระทำ เช่นเดียวกับในกรณีของสนามไฟฟ้า ในระบบหน่วย SI แรงดังกล่าวนี้คือ

F = q v × B {\displaystyle \mathbf {F} =q\mathbf {v} \times \mathbf {B} }

เมื่อ

F คือแรงที่เกิดขึ้น วัดในหน่วยนิวตัน ×   {\displaystyle \times \ } เป็นสัญลักษณ์แสดง cross product ของเวกเตอร์ q   {\displaystyle q\ } คือประจุไฟฟ้า วัดในหน่วยคูลอมบ์ v   {\displaystyle \mathbf {v} \ } คือความเร็วของประจุไฟฟ้า q   {\displaystyle q\ } วัดในหน่วยเมตรต่อวินาทีB คือความหนาแน่นฟลักซ์แม่เหล็ก วัดในหน่วยเทสลา

กฎด้านบนนี้มีชื่อเรียกว่า กฎแรงของลอเรนซ์

ถ้าประจุที่เคลื่อนที่นั้นเป็นส่วนหนึ่งของกระแสในเส้นลวด กฎด้านบนนี้สามารถเขียนใหม่ได้ในรูป

d F d l = i × B {\displaystyle {\frac {d\mathbf {F} }{dl}}=\mathbf {i} \times \mathbf {B} }

หรือพูดอีกอย่างคือ สมการนี้กล่าวว่าแรงที่กระทำต่อหน่วยกระแสไฟฟ้านั้นเท่ากับ cross product ระหว่างเวกเตอร์กระแสและสนามแม่เหล็ก ในสมการนี้ เวกเตอร์กระแส i {\displaystyle \mathbf {i} } มีขนาดเท่ากับค่าสเกลาร์ (scalar) ของกระแสเช่นทั่วไป ( i {\displaystyle i} ) และมีทิศทางชี้ไปในทางที่กระแสไหล

การเกิดขึ้นของสนามแม่เหล็กนั้น บรรยายได้กระชับและสวยงามที่สุดเมื่อใช้เวกเตอร์แคลคูลัส ดังนี้ (สำหรับกรณีของสุญญากาศ)

∇ × B = μ 0 J + μ 0 ϵ 0 ∂ E ∂ t {\displaystyle \nabla \times \mathbf {B} =\mu _{0}\mathbf {J} +\mu _{0}\epsilon _{0}{\frac {\partial \mathbf {E} }{\partial t}}} ∇ ⋅ B = 0 {\displaystyle \nabla \cdot \mathbf {B} =0}

เมื่อ

∇ × {\displaystyle \nabla \times } คือโอเปอเรเตอร์ เคิร์ล (curl) ∇ ⋅ {\displaystyle \nabla \cdot } คือโอเปอเรเตอร์ ไดเวอร์เจนซ์ (divergence) μ 0   {\displaystyle \mu _{0}\ } คือ สภาพให้ซึมได้ของสุญญากาศ J   {\displaystyle \mathbf {J} \ } คือ ความหนาแน่นของกระแส ∂   {\displaystyle \partial \ } คือ อนุพันธ์ย่อย ϵ 0   {\displaystyle \epsilon _{0}\ } คือ สภาพยอมของสุญญากาศ E   {\displaystyle \mathbf {E} \ } คือสนามไฟฟ้า t   {\displaystyle t\ } คือ เวลา

สมการแรกนั้นรู้จักกันในชื่อกฎของแอมแปร์ (หลังการแก้ไขโดยแมกซ์เวลล์) พจน์ที่สองของสมการนี้ ( μ 0 ϵ 0 ∂ E ∂ t {\displaystyle \mu _{0}\epsilon _{0}{\frac {\partial \mathbf {E} }{\partial t}}} ) จะมีค่าเป็นศูนย์ในกรณีที่ระบบไม่มีการเปลี่ยนแปลง ส่วนสมการที่สองนั้นแสดงให้เห็นว่า magnetic monopole นั้นไม่มีอยู่ ทั้งสองสมการนี้เป็นส่วนหนึ่งของชุดสมการของแมกซ์เวลล์

ใกล้เคียง

สนามแรงบิด (วิทยาศาสตร์เทียม) สนามแม่เหล็ก สนามแม่เหล็กของโลก สนามแข่งขันในโอลิมปิกฤดูร้อน 2008 สนามแข่งขันในโอลิมปิกและพาราลิมปิกฤดูร้อน 2012 สนามแข่งม้าโตเกียว สนามแม่เหล็กของดาวฤกษ์ สนามแอนฟิลด์ สนามแม่เหล็กวิกฤต สนามแม่เหล็กวิกฤติ