อ้างอิง ของ สมบัติร่วมกันของมนุษยชาติ

  1. [จตุพร วงศ์ทองสรรค์ และคณะ. เอกสารประกอบคำบรรยายกระบวนวิชากฎหมายทะเล (LAW OF THE SEA) หลักสูตรนิติศาสตร์มหาบัณฑิต ภาคพิเศษ.คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  2. อย่างไรก็ดี การเกิดขึ้นของหลักการดังกล่าวดูจะใช้ได้ผลมากที่สุดในบริเวณพื้นที่ขั้วโลกใต้เท่านั้น ในขณะที่บริเวณอวกาศและพื้นทะเลลึกหลักการนี้เป็นเพียงลายลักษณ์อักษรที่ปรากฏอยู่ในอนุสัญญาสหประชาชาติว่าด้วยกฎหมายทะเล และสนธิสัญญาอวกาศเท่านั้น อีกทั้งเมื่อพิจารณาจากประวัติการเกิดขึ้นของแนวความคิดนี้พบว่าได้รับการคัดค้านเป็นอย่างมากจากประเทศที่พัฒนาแล้วโดยเฉพาะอย่างยิ่ง สหรัฐอเมริกา ทำให้แนวคิดเรื่องนี้เมื่อนำมาปรับใช้ในทางปฏิบัติพบว่ายังคงห่างไกลจากแนวคิดพื้นฐานอยู่ไม่น้อย ซึ่งนับเป็นสิ่งที่แสดงให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมถึงการบังคับใช้กฎหมายระหว่างประเทศในส่วนที่ได้รับการคัดค้านจากประเทศที่พัฒนาแล้ว ซึ่งประเทศเหล่านี้ก็เป็นผู้บริจาครายใหญ่ต่อสหประชาชาติ รวมถึงมีที่นั่งถาวรในคณะมนตรีความมั่นคงแห่งสหประชาชาติอีกด้วย อำนาจ วงศ์บัณฑิต. หลัก Freedom of the Seas ขัดกับหลัก Common Heritage of Mankind หรือไม่ ]
  • จตุรนต์ ถิระวัฒน์. กฎหมายอวกาศ หลักทั่วไปและปัญหาในทางปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 1.: กรุงเทพฯ . โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

จตุรนต์ ถิระวัฒน์. "กฎหมายระหว่างประเทศ "

  • ถนอม เจริญลาภ. กฎหมายทะเลและเขตทางทะเลของประเทศไทย]
  • อำนาจ วงศ์บัณฑิต.หลัก Freedom of the Seas ขัดกับหลัก Common Heritage of Mankind หรือไม่]
  • อำนาจ วงศ์บัณฑิต.การทำเหมืองแร่ในทะเลหลวงกับกฎหมายระหว่างประเทศ]
  • ปรีดิเทพ บุนนาค "มรดกร่วมกันของมนุษยชาติ หลักการและข้อจำกัดในทางปฏิบัติ" วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 2542