ปฏิกิริยา ของ สมัยประชุมวิสามัญของรัฐสภาไทย_26–27_ตุลาคม_2563

ประยุทธ์ให้สัมภาษณ์ว่าตนเห็นด้วยกับการแก้ไขรัฐธรรมนูญ และตั้งคณะกรรมการหาทางออก แต่จะไม่ลาออก[14]

จุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ของไทย ให้สัมภาษณ์หลังจบการประชุมว่า การประชุมนี้ไม่เสียเปล่าเพราะได้ข้อสรุปคือจะเดินหน้าแก้ไขรัฐธรรมนูญ และมีการตั้งคณะกรรมการทุกฝ่ายเพื่อแก้ไขปัญหาการเมือง แต่กรอบเวลาจะขึ้นอยู่กับประธานรัฐสภา[15] ส่วน รศ.ดร.ปิยบุตร แสงกนกกุล เห็นว่า การประชุมนี้มีแนวทางอภิปรายเพียง 2 เรื่อง คือ พยายามกล่าวหานักศึกษาว่ามีเบื้องหลัง และขัดขวางข้อเสนอปฏิรูปสถาบันพระมหากษัตริย์ และกังวลว่าหากประชาชนไม่เชื่อมั่นในกระบวนการรัฐสภาก็จะกลับสู่วังวนการประท้วงบนถนนอีก[16]

ใกล้เคียง

สมัยประชุมวิสามัญของรัฐสภาไทย 26–27 ตุลาคม 2563 สมัยปลายแห่งอียิปต์โบราณ สมัยปัจจุบัน สมัยประชุมพิเศษฉุกเฉินที่ 11 ของสมัชชาใหญ่แห่งสหประชาชาติ สมัย ปานอินทร์ สมัยการปกครองส่วนพระองค์ สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยกลางตอนต้น สมัยฟื้นฟูศิลปวิทยา สมัยไพลสโตซีน

แหล่งที่มา

WikiPedia: สมัยประชุมวิสามัญของรัฐสภาไทย_26–27_ตุลาคม_2563 https://www.bangkokpost.com/thailand/politics/2008... https://www.bbc.com/thai/thailand-54688443 https://www.bbc.com/thai/thailand-54702089 https://ch3thailandnews.bectero.com/news/214834 https://news.ch7.com/detail/445677 https://www.khaosodenglish.com/politics/2020/10/26... https://www.prachachat.net/politics/news-542909 https://www.prachachat.net/politics/news-543944 https://www.prachachat.net/politics/news-544224 https://www.dailynews.co.th/politics/803135