สมณศักดิ์ ของ สมเด็จพระพุฒาจารย์_(สนิท_ชวนปญฺโญ)

  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2520 รับพระราชทานตั้งสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญ ในราชทินนามที่ พระศรีวีราภรณ์[1]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2528 รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นราช ในราชทินนามที่ พระราชวีราภรณ์ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[2]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2534 รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นเทพ ในราชทินนามที่ พระเทพปัญญาเมธี ศีลาจารวิจิตร ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[3]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2539 รับพระราชทานเลื่อนสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะชั้นธรรม ในราชทินนามที่ พระธรรมปริยัติโสภณ วิมลศีลาจารวินิฐ พิพิธกิจจานุกิจ ตรีปิฎกบัณฑิต มหา๕ริสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[4]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2544 รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นพระราชาคณะเจ้าคณะรองชั้นหิรัณยบัฏ ในราชทินนามที่ พระพรหมเวที ศรีสังฆโสภณ วิมลศีลาจาร สุวิธานปริยัติกิจ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[5]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2557 ได้รับพระราชทานสถาปนาสมณศักดิ์เป็นสมเด็จพระราชาคณะชั้นสุพรรณบัฏ ในราชทินนามที่ สมเด็จพระพุฒาจารย์ พุทธสุวรรณมหาวิหารวรากร สุนทรอรัญญิกมหาปริณายก ดิลกกิจจานุกิจโกศล วิมลศีลาจารนิวิฐ ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัญวาสี[6]

ใกล้เคียง

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จพระนเรศวรมหาราช สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระนางเจ้าสุทิดา พัชรสุธาพิมลลักษณ พระบรมราชินี สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมหลวงราชสาริณีสิริพัชร มหาวัชรราชธิดา สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก