สมณศักดิ์ ของ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์_(สุวรรณ_สุวณฺณโชโต)

  • พ.ศ. 2489 พระครูฐานานุกรมในพระพรหมมุนี (ปลด กิตฺติโสภโณ) ที่ พระครูปลัดสุวัฒนพรหมจริยคุณ
  • พ.ศ. 2490 เป็นพระครูฐานานุกรมในสมเด็จพระวันรัต (ปลด กิตฺติโสภโณ) ที่ พระครูปลัดสัมพิพัฒนสุตาจารย์
  • 4 ธันวาคม พ.ศ. 2493 เป็นพระราชาคณะชั้นสามัญที่ พระกิตติวงศ์มุนี[1]
  • 13 ธันวาคม พ.ศ. 2501 เป็นพระราชาคณะชั้นเทพที่ พระเทพกิตติมุนี ศรีวิสุทธิวราลังการ ปรีชาญาณดิลก ตรีปิฎกบัณฑิต มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[2]
  • 29 ธันวาคม พ.ศ. 2505 เป็นพระราชาคณะชั้นธรรมที่ พระธรรมกิตติโสภณ วิมลศีลาจารวัตร ปริยัติคุณาลังการ ศาสนภารธุราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[3]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2516 เป็นรองสมเด็จพระราชาคณะที่ พระพุทธิวงศมุนี ศรีปาพจนาลังการ ศีลาจารวัตรวิสิฐ พิพิธพัฒนาภิมาตร ประชานุศาสน์วราทร มหาคณิสสร บวรสังฆาราม คามวาสี[4]
  • 5 ธันวาคม พ.ศ. 2532 เป็นสมเด็จพระราชาคณะที่ สมเด็จพระพุทธชินวงศ์ จุฬาลงกรณรังสฤษฏ์ กิตติโสภณวรางกูร วิบูลศีลาจารวิมล คิรีชนพหุลหิเตสี ตรีปิฎกวราภรณ์ อุดรมหาคณปธานาดิศร บวรสังฆาราม คามวาสี อรัณยวาสี[5]

ใกล้เคียง

สมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จเจ้าฟ้าฯ กรมพระศรีสวางควัฒน วรขัตติยราชนารี สมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ พระบรมราชชนนีพันปีหลวง สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ สมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก สมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที่ 2 แห่งสหราชอาณาจักร สมเด็จพระนเรศวรมหาราช