คุณสมบัติ ของ สัญกรณ์โอใหญ่

การคูณ

การคูณด้วยค่าคงที่

ให้ k เป็นค่าคงที่ใดๆ ที่เป็นบวก

O ( k ⋅ g ) = O ( g ) {\displaystyle O(k\cdot g)=O(g)} f ∈ O ( g ) ⇒ k ⋅ f ∈ O ( g ) {\displaystyle f\in O(g)\Rightarrow k\cdot f\in O(g)}

การซ้อนสัญกรณ์โอใหญ่

f ( n ) ∈ O ( g ( n ) ) ⟹ O ( f ( n ) ) ⊂ O ( g ( n ) ) {\displaystyle f(n)\in O(g(n))\implies O(f(n))\subset O(g(n))}

ให้ h (n) เป็นอีกฟังก์ชันหนึ่ง

O ( f ( n ) ) ∈ O ( g ( n ) ) ⟹ O ( f ( h ( n ) ) ) ⊂ O ( g ( h ( n ) ) ) {\displaystyle O(f(n))\in O(g(n))\implies O(f(h(n)))\subset O(g(h(n)))}

ใกล้เคียง

สัญกรณ์ระดับเสียงทางวิทยาศาสตร์ สัญกรณ์โอใหญ่ สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ สัญกรณ์บรา-เค็ท สัญกรณ์ส่วนในหลายส่วน สัญกรณ์โพลิช สัญกรณ์ยกกำลัง สัญกรณ์ลูกศรของคนูธ สัญกรณ์คณิตศาสตร์ สัญกรณ์วัตถุจาวาสคริปต์