อิทธิพลของก้านสมอง ของ หน่วยประสาทสั่งการ

ก้านสมองมีอิทธิพลต่อการทำงานของเซลล์ประสาทสั่งการในหน่วยสั่งการในระดับสูง คือ มันสามารถเพิ่มความไวของเซลล์ประสาทสั่งการต่อการสื่อประสาทได้ถึง 5-10 เท่า เพราะเซลล์ประสาทในก้านสมองส่งแอกซอนที่ใช้สารสื่อประสาทเซโรโทนินและ norepinephrine ซึ่งเปิดช่องไอออน (L-type Ca2+ channel) ที่เดนไดรต์ของเซลล์ประสาทสั่งการเป็นการเพิ่มกระแสไฟฟ้าที่ไซแนปส์ สถานการณ์เช่นนี้ทำให้เซลล์ประสาทสั่งการสามารถส่งกระแสประสาทอย่างต่อเนื่องแม้จะได้สัญญาณอินพุตที่ทำให้ลดขั้วเพียงชั่วขณะหนึ่ง เพราะเหตุนี้ ก้านสมองจึงเป็นเหตุให้หน่วยสั่งการที่หดเกร็งช้าส่งกระแสประสาทได้อย่างต่อเนื่อง ซึ่งอาจเป็นกลไกที่ทำให้ทรงร่างกายไว้ได้เมื่อตื่น แต่เมื่อนอน (คือไร้อิทธิพลจากก้านสมอง) ก็ทำให้กล้ามเนื้อคลายตัวได้[25]

ใกล้เคียง

หน่วยบัญชาการนาวิกโยธิน หน่วยปฏิบัติการพิเศษ หน่วยรบพิเศษ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษ หน่วยบัญชาการถวายความปลอดภัยรักษาพระองค์ หน่วยบัญชาการสงครามพิเศษทางเรือ กองเรือยุทธการ หน่วยผจญคนไฟลุก หน่วยยามชายแดน หน่วยยามฝั่ง หน่วยงานบังคับใช้กฎหมาย

แหล่งที่มา

WikiPedia: หน่วยประสาทสั่งการ http://www.siumed.edu/~dking2/ssb/neuron.htm //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1350367 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC1350696 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2637923 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2892424 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC4254845 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/11133928 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/12738613 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20076726 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/20581280