อ้างอิง ของ หลวงลิขิตปรีชา_(ปลอบ_โรจนกุล)

  1. กรมพระอาลักษณ์เป็นหนึ่งในกรมมนตรี 6 เป็นกรมขึ้นตรงต่อพระเจ้าแผ่นดิน ปฏิบัติหน้าที่ด้านเอกสารสำคัญ เช่น ประกาศพระบรมราชโองการ พระราชพิธี พระสุพรรณบัฏ และเอกสารราชการที่เกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ ราชทินนามตำแหน่งเจ้ากรม (วังหลวง) คือ ออกญาศรีภูริยปรีชาราชเสนาบดีศรีสารลักษณ์ ศักดินา 5000 ส่วนวังหน้าถือศักดินากึ่งหนึ่งของวังหลวงตามธรรมเนียม หรือลดหลั่นศักดินาลงไปตามความสำคัญของกรมและบรรดาศักดิ์
  2. เมื่อวันที่ 1 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2451 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้า ฯ สั่งให้ยกกรมพระอาลักษณ์และกรมรัฐมนตรีสภามาสมทบอยู่ในกรมราชเลขานุการ โดยรวมเป็นแผนกเดียวกันแต่ให้คงชื่อกรมทั้งสองนั้นอยู่ เนื่องจากมีหน้าที่เนื่องกันกับกรมราชเลขานุการแต่งบประมาณยังแยกกันอยู่
  3. ชลดา เรืองรักษ์ลิขิต. ประวัติวรณคดีวิจารณ์ไทย พ.ศ. 2325-2525 ทอไหมในสายน้ำ 200 ปี วรรณคดีวิจารณ์ไทย. กรุงเทพฯ : ประพันธ์สานส์, 2541. 291 หน้า. ISBN : 974-230-708-0
  4. ประวัติขุนนางวังหน้า ร. 2. กรุงเทพ หน้าที่ 12
  5. เทพ สุนทรศารทูล. ชีวประวัติพระสุนทรโวหาร (ภู่ ภู่เรือหงส์). กรุงเทพฯ : พระนารายณ์, 2533. 225 หน้า. ISBN : 974-575-133-2.
  6. สมบัติ ปลาน้อย. เจ้าฟ้าจุฑามณี, พระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รวมสาส์น (1977), 2536. 315 หน้า.
  7. ราชกิจจานุเบกษาลงยศทางทหารว่า นายพันโท แต่ในขณะนั้นยังไม่มียศทหาร
  8. ราชกิจจานุเบกษา. พระราชบัญญัติศักดินาทหารทหารบกและศักดินาทหารเรือ. ประกาศ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท วันที่ 1 เดือน 9 ขึ้น 5 ค่ำ ปีชวดสัมฤทธิศกศักราช 1250 เป็นวันที่ 7215 ในรัชกาลปัจจุบัน
  9. ภาษาและหนังสือ ฉบับที่ 4-9. กรุงเทพฯ : สมาคมภาษาและหนังสือแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์, พ.ศ. 2515.
  10. พิมพ์ประไพ พิศาลบุตร. สำเภาสยาม ตำนานเจ๊กบางกอก. กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์. ตุลาคม 2544
  11. ปูมราชธรรม เอกสารสมัยอยุธยาจากหอสมุดแห่งชาติกรุงปารีส. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2545. 224 หน้า
  12. นิยะดา เหล่าสุนทร. พินิจวรรณคดี รวมบทความวิชาการด้านวรรณคดี. กรุงเทพฯ : แม่คำผาง, 2544.
  13. ตำราพิไชยสงครามคำกลอน. งานพระราชทานเพลิงศพ นายพลตรี พระยารามจตุรงค์ (เพ็ชร บุณยรัตพันธุ์), สำนักพิมพ์ โสภณพิพรรฒธนากร, 2469
  14. ภมรี สุรเกียรติ. เสนางตพยุหะ และพยุหจักรี: ตำราพิชัยสงครามพม่าสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 18. สงขลานครินทร์ ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. ปีที่ 20;1:235.
  15. ชอบ ภักดิ์ศรีวงศ์, พลตรี. "หลักการรบของไทย" ประวัติศาสตร์การสงคราม. นครนายก : โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, กุมภาพันธ์ 2522.
  16. "ตำราพิไชยสังคราม" สมุดไทยดำ อักษรไทย เส้นสีเหลือง, 179, หน้าต้น อ้างถึงใน วสันต์ มหากาญจนบะ, 2539, 13-14
  17. เจ้าพระยาทิพากรวงศมหาโกษาธิบดี (ขำ บุนนาค). พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 3. กรุงเทพฯ : กองวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2538.
  18. เจ้าพระยาบดินทรเดชา (สิงห์ สิงหเสนี) กับบทบาทสร้างเมืองใหม่ในกัมพูชา. นิตยสารศิลปวัฒนธรรม ฉบับวันพุธที่ 25 ธันวาคม 2562, สิบค้น เมษายน, 2563
  19. ณัฐวุฒิ สุทธิสงคราม. สามเจ้าพระยา. พระนคร : โรงพิมพ์อาศรมอักษร, 2505. หน้า 454.
  20. หงษ์ สิงเสนี, คุณหญิง. ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ 56 ว่าด้วยเหตุการณ์เมืองเขมรตอนเสร็จสงครามไทยกับญวน. กรุงเทพฯ : พิพรรฒธนากร, พฤษภาคม 2475
  21. ศิลปากร เล่มที่ 46, ฉบับที่ 1-3. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, พ.ศ. 2546.
  22. กลิ่น คงเหมือนเพชร. วรรณกรรมทักษิณ: วรรณกรรมปริทัศน์. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์, 2004. 728 หน้า
  23. ฐานข้อมูลจารึกในประเทศไทย
  24. เพ็ญนภา ทรัพย์เจริญ. กายบริหารแบบไทย: ท่าฤๅษีดัดตน. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า, 2540. 373 หน้า.
  25. สุจิตต์ วงษ์เทศ. ศิลปวัฒนธรรม เล่มที่ 24 ฉบับที่ 4-6. [ม.ป.ป.] : 2546.
  26. สุจิตต์ วงษ์เทศ. คนแปลกหน้านานาชาติของกรุงสยาม. มติชน 2546.
  27. ยูเนสโกขึ้นทะเบียน ‘จารึกวัดโพธิ์’ ‘มรดกความทรงจำของโลก’. (2551, 1 เมษายน). ASTV ผู้จัดการออนไลน์.
  28. เก้า มกรา, (2551). ธรรมลีลา, (89).
  29. พระราชปุจฉาในชั้นกรุงรัตนโกสินทร์ ตั้งแต่รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 5 เล่ม 2. กรุงเทพฯ : คุรุสภา, 2513.
  30. เอมอร จิตตะโสภณ. วรรณคดีนิราศ. ภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. 2521
  31. จันทร์จิรายุวัฒน์ รัชนี, หม่อมเจ้า. นิราศนรินทร์คำโคลงและนิราศปลีกย่อย ฉบับพิมพ์. กรุงเทพ ฯ : แพร่พิทยา, 2513. 347 หน้า
  32. หลวงลิขิตปรีชา, นาน บางขุนพรหม. นิทานคำกลอน, วชิรญาณวิเศษ. 8, 20 (23 กุมภาพันธ์ 111) : 325 - 237.
  33. หนังสือเก่าชาวสยาม, วชิรญาณวิเศษ เล่ม ๘ แผ่น ๑๖ - ๒๐. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน) สำนักหอสมุดแห่งชาติ.
  34. กรมศิลปากร, สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์. นิทานวชิรญาณ เล่ม 1 - 2. กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, 2555. 849 หน้า ISBN 978-616-283-002-0.
  35. ห้องสมุดส่วนตัวรัตนชาติ
  36. บรมมหาประยุรวงศ์ (ดิศ บุนนาค), สมเด็จเจ้าพระยา, และคณะ. ตำรานพรัตน์. พระนางเจ้าสุขุมาลมารศรี พระราชเทวี ทรงแจกในงานทรงบำเพ็ญพระราชกุศล “ฉลองพระชนมายุครบหกสิบพรรษา” วันที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2464. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, 2464.
  37. เอนก นาวิกมูล. เที่ยวชมหนังสือเก่า. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า, 2541. 385 หน้า
  38. ศุภวัฒย์ เกษมศรี, พลตรี หม่อมราชวงศ์, และรัชนี ทรัพย์วิจิตร. พระอนุวงศ์ชั้นหม่อมเจ้าในพระราชวงศ์จักรี. กรุงเทพ : สำนักพิมพ์บรรณกิจ, พิมพ์ครั้งที่ 3 พ.ศ. 2549. 360 หน้า. หน้า หน้าที่. ISBN 974-221-818-8
  39. หมายถึง สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระปรมานุชิตชิโนรส
  40. มหาเสวกเอก เจ้าพระยาสุรสีห์วิสิษฐศักดิ์ (เชย กัลยาณมิตร) เสนาบดีกระทรวงมหาดไทย รับพระบรมราชโองการใส่เกล้า ฯ เรื่องทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้เปลี่ยนคำว่าเมืองเรียกว่าจังหวัด ตามประกาศราชกิจจานุเบกษา วันที่ 28 พฤษภาคม 2459 เล่ม 33 หน้า 51
  41. ตรี อมาตยกุล. ประวัติเมืองสำคัญ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์นิยมวิทยา, 2494. 527 หน้า. หน้า 188.
  42. ราชกิจจานุเบกษา. การประกาศรายชื่อผู้ได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ประจำปี เครื่องราชอิสริยาภรณ์ ช้างเผือก และมงกุฎไทย พ.ศ. 2527. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 102 ตอนที่ 17, 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2528, หน้า 1,184.
  43. ราชกิจจานุเบกษา. หมายให้ข้าราชการมาบอกบัญชีที่กรมพระอาลักษณ์. พระเจ้าบรมวงศ์เธอ พระองค์เจ้าสวัสดิประวัติ กรมพระสมมตอมรพันธ์ ราชเลขานุการ รับพระบรมราชโองการใส่เกล้า ฯ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานเหรียญจักรพรรดิมาลาในรัชกาลก่อนมาจนถึงปีวอกวัตวาศกศักราช ๑๒๓๔ ในงานพระราชพิธีสมภาคาภิเษก. กรุงเทพ ฯ. เล่มที่ 18 หน้า 296 วันที่ 18 สิงหาคม 2444.
  44. ตำแหน่งข้าราชการกรมรัฐมนตรีและกรมอาลักษณ์ รัตนโกสินทร์ศก 118 ตำแหน่งเจ้ากรมอาลักษณ์
  45. 10 นามสกุลเก่าแก่ของไทย. Facebook คลังประวัติศาสตร์ไทย
  46. อมรดรุณารักษ์ (แจ่ม สุนทรเวช), จมื่น. กำเนิดนามสกุล เล่ม 2 พระราชกรณียกิจสำคัญในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพฯ : องค์การค้าคุรุสภา : 2511.
  47. ราชกิจจานุเบกษา, พระราชบัญญัติขนามนามสกุล พุทธศักราช 2456, เล่ม 30 14 กันยายน พ.ศ. 2456, หน้า 1238
  48. พระบรมราชาธิบาย พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ในพระราชวิจารณ์จดหมายเหตุความทรงจำ กรมหลวงนรินทรเทวี ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 2 หน้า 4
  49. แผนที่ลำดับสกุล ฉบับท้าวอนงครักษา (ลม้าย) หลวงพิสูทธิภัณฆรักษา (แต้ม ศิริวัฒนกุล) รวบรวม
  50. แผนที่ลำดับสกุล ฉบับหลวงศรีวรวัตร (พิณ จันทรโรจวงศ์)
  51. แผนที่ลำดับสกุล ฉบับพระมิตรกรรมรักษา (นัดดา บุรณศิริ) และคำชี้แจงของคุณหญิงเนื่อง เพ็ชรัตน์สงคราม
  52. แผนที่ลำดับสกุล ฉบับขุนนนวิจารณ์ (นน ทองอิน)
  53. แผนที่ลำดับสกุล ฉบับกฤตภาส โรจนกุล รวบรวม
  • พระตำหนักจิตรลดารโหฐาน. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชน 28. กรุงเทพ : คุรุสภา, [ม.ป.ป.]. หน้า หน้าที่. ISBN 974-8185-47-8
  • สมเด็จพระศรีสวรินทิราบรมราชเทวี พระพันวัสสาอัยยิกาเจ้า, และสมเด็จพระมาตุฉาเจ้า พระอัครราชเทวี. ประชุมพงศาวดาร 81 ภาค. รับสั่งให้กรรมการหอพระสมุดวชิรญาณรวบรวมพิมพ์เมื่อทรงบำเพ็ญพระกุศล ในงานศพพระวรวงศ์เธอ พระองค์เจ้าดนัยวรนุช, กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ไทย สพานยศเส, 2457.
  • พิเศศ บุรณะสมบัติ. ประวัติศาสตร์การปกครองของไทย: ตั้งแต่เริ่มเลือกตั้งเปลี่ยนเป็นประชาธิปไตย พ.ศ. 2475. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์รวมสาส์น. 2536. 302 หน้า
  • อักษร โสภณ. สกุลไทย, ฉบับที่ 1652-1659; ฉบับที่ 1661-1663
  • กฤตภาส โรจนกุล. โรจนกุล ชีวประวัติและเชื้อสายสัมพันธ์. กรุงเทพฯ : [ม.ป.ท.], 2554.
  • พระราชวังพญาไท


ใกล้เคียง