สรีรวิทยา ของ หูชั้นใน

นิวรอนในหูจะตอบสนองต่อเสียงง่าย ๆ โดยสมองมีหน้าที่ประมวลเสียงที่ซับซ้อนยิ่ง ๆ ขึ้นไปผู้ใหญ่โดยเฉลี่ยสามารถได้ยินเสียงที่ความถี่ระหว่าง 20-20,000 เฮิรตซ์แต่จะได้ยินเสียงสูงน้อยลงเมื่ออายุมากขึ้นนักชีวฟิสิกส์ Georg von Békésy (พ.ศ. 2442-2515) ใช้กล้องจุลทรรศน์ตรวจดูเยื่อฐาน (basilar membrane) จากหูชั้นในของศพแล้วพบว่า การเคลื่อนไหวของเยื่อเป็นเหมือนกับคลื่นที่กำลังวิ่งไปโดยรูปคลื่นโดยเฉพาะจะต่าง ๆ กันขึ้นอยู่กับความถี่เสียง คือเสียงสูงเสียงต่ำที่ความถี่ต่ำ ปลายสุด (คือส่วนยอดสุด) ของเยื่อจะไหวมากที่สุด ในขณะที่ความถี่สูง ฐาน (คือส่วนต้น) ของเยื่อจะไหวมากที่สุด[7]

แหล่งที่มา

WikiPedia: หูชั้นใน http://www.unifr.ch/ifaa/Public/EntryPage/TA98%20T... http://ect.downstate.edu/courseware/haonline/labs/... http://fme.biostr.washington.edu/FME/index.jsp?fma... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/4619861 http://www.asha.org/public/hearing/Middle-Ear/ http://archive.rubicon-foundation.org/2663 http://archive.rubicon-foundation.org/4291 https://books.google.com/books?id=VKlWjdOkiMwC https://books.google.com/books?id=_Cb_XXR5HCQC https://meshb.nlm.nih.gov/record/ui?ui=D007758