อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง

อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง[1] หรือ ความเอนเอียงโดยการคัดเลือก[2](อังกฤษ: Selection bias)คือความผิดพลาดทางสถิติ เนื่องมาจากวิธีการเลือกตัวอย่างหรือกลุ่มตัวอย่างในงานศึกษาทางวิทยาศาสตร์ ที่โดยเฉพาะหมายถึงการคัดเลือกบุคคล กลุ่ม หรือข้อมูลเพื่อทำการวิเคราะห์ โดยที่ไม่มีการสุ่ม (randomization) ที่สมควร และดังนั้นจึงทำให้ตัวอย่างที่ชัก ไม่สามารถเป็นตัวแทนประชากรที่ต้องการจะวิเคราะห์[3]ตัวอย่างเช่น[4]เป็นปรากฏการณ์ที่บางครั้งเรียกว่า selection effect (ปรากฏการณ์การคัดเลือก)และหากไม่พิจารณาผลของความเอนเอียงจากการคัดเลือก จะทำให้การสรุปผลจากตัวอย่างงานวิจัยนั้นผิดพลาด

ใกล้เคียง

อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง อคติเพราะเวลานำ อคติ อคติเข้าข้างเวลายาว อคติเพื่อยืนยันความคิดของตน อคติจากการคัดเลือกตีพิมพ์ อคติโดยการรายงาน อควิทาเนีย ความเป็นอคติต่อชาวเซมิติค ความเป็นอคติต่อชาวต่างชาติ

แหล่งที่มา

WikiPedia: อคติที่เกิดจากการเลือกตัวอย่าง http://books.google.com/books?id=f0IDHvLiWqUC http://www.medilexicon.com/medicaldictionary.php?t... http://medical-dictionary.thefreedictionary.com/Sa... http://medical.webends.com/kw/Selection%20Bias http://www.cs.nyu.edu/~mohri/postscript/bias.pdf http://www.cs.nyu.edu/~mohri/pub/nsmooth.pdf http://www.tufts.edu/~gdallal/out.htm http://www.cancer.gov/dictionary?CdrID=44087 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17245804 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/698947