อนุสรณ์สถาน_จิตร_ภูมิศักดิ์

จิตร ภูมิศักดิ์ (25 กันยายน พ.ศ. 2473 – 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509) เป็นนักคิดด้านการเมือง นักประวัติศาสตร์ นักภาษาศาสตร์ นับเป็นนักปราชญ์ นักปฏิวัติทางความคิด และนักวิชาการคนสำคัญของประเทศไทย จิตรเป็นนักวิชาการคนแรก ๆ ที่กล้าถกเถียงคัดค้านปราชญ์คนสำคัญ ด้วยวิธีคิดที่มีเหตุผลลุ่มลึก มีความโดดเด่นจากผลงานการค้นคว้าทางวิชาการที่แปลกใหม่และลึกซึ้ง ขณะเดียวกันจิตรยังมีความคิดต่อต้านระบบเผด็จการและการใช้อำนาจกดขี่ของชนชั้นสูงมาโดยตลอด[1] ผลงาน 3 รายการของเขาได้รับยกย่องเป็นหนังสือดี 100 เล่มที่คนไทยควรอ่าน ซึ่งเป็นเพื่อนร่วมอุดมการณ์เดียวกันกับ นายครอง จันดาวงศ์, นายผี อัศนี พลจันทร และนายอิศรา อมันตกุลจิตรเสียชีวิตในปี พ.ศ. 2509 หลังเข้าร่วมต่อต้านการปกครองของเผด็จการทหาร โดยถูกตัวแทนเผด็จการคือ"กำนันแหลม"และพวกอาสาสมัครฝั่งตรงข้ามและนำเหล่าทหารกับตำรวจล้อมยิง นี่เองที่เป็นส่วนหนึ่งของพลังผลักดันให้เกิดเหตุการณ์ 14 ตุลา 2516[2]

อนุสรณ์สถาน_จิตร_ภูมิศักดิ์

อาชีพ นักเขียน, นักประวัติศาสตร์, นักภาษาศาสตร์, นักปราชญ์บทกวี, นักกิจกรรม
ศิษย์เก่า คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พรรคการเมือง พรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย
เกิด สมจิตร ภูมิศักดิ์
25 กันยายน พ.ศ. 2473
จังหวัดปราจีนบุรี ประเทศสยาม
ผลงานเด่น
บิดามารดา ศิริ ภูมิศักดิ์
แสงเงิน ฉายาวงศ์
สาเหตุเสียชีวิต ถูกล้อมยิง
เสียชีวิต 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2509 (35 ปี)
จังหวัดสกลนคร ประเทศไทย

ใกล้เคียง

อนุสรณ์สันติภาพฮิโรชิมะ อนุสรณ์ ธรรมใจ อนุสรณ์สถานแห่งชาติ อนุสรณ์ มณีเทศ อนุสรา วันทองทักษ์ อนุสรณ์ เอี่ยมสะอาด อนุสรณ์ ศรีชาหลวง อนุสรณ์ อมรฉัตร อนุสรณ์ วงศ์วรรณ อนุสรณ์สถานทางประวัติศาสตร์เกียวโตโบราณ