พยัญชนะ ของ อักษรธรรมล้านนา

อักษรธรรมล้านนาจัดตามกลุ่มพยัญชนะวรรคตามพยัญชนะภาษาบาลี แบ่งออกเป็น 5 วรรค วรรคละ 5 ตัว เรียกว่า“พยัญชนะวรรค”หรือ“พยัญชนะในวรรค”อีก 8 ตัวไม่จัดอยู่ในวรรคเรียกว่า“พยัญชนะอวรรค”หรือ“พยัญชนะนอกวรรค”หรือ“พยัญชนะเศษวรรค”ส่วนการอ่านออกเสียงเรียกพยัญชนะทั้งหมดนั้น จะเรียกว่า“ตั๋ว”เช่น ตั๋ว กะ/ก/ ตั๋ว ขะ/ข/ ตั๋ว จะ/จ/ เป็นต้น

พยัญชนะปกติ

อักษรไทยที่ปรากฏเป็นการถ่ายอักษรเท่านั้น เสียงจริงของอักษรแสดงไว้ในสัทอักษรสากล ซึ่งอาจจะออกเสียงต่างไปจากอักษรไทย

วัคค์ (วรรค)
ประเภทอนาสิกนาสิก
หมวดหลักเติมหลักเติมหลักเติมหลัก
ก วัคค์รูป
ชื่อก๋ะข๋ะข๋ะ (ฃ๋ะ)ก๊ะคะ (ฅะ)คะ (ฆะ)งะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/káʔ//xáʔ//xáʔ//ka᷇ʔ//xa᷇ʔ//xa᷇ʔ//ŋa᷇ʔ/
อักษรสูงสูงต่ำ
จ วัคค์รูป,
ชื่อจ๋ะส๋ะ (ฉ๋ะ)จ๊ะซะซะ (ฌะ)ญะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/t͡ɕáʔ//sáʔ//t͡ɕa᷇ʔ//sa᷇ʔ//sa᷇ʔ//ɲa᷇ʔ/
อักษรสูงสูงต่ำ
ฏ วัคค์รูป,
ชื่อหละต๋ะ (หละฏ๋ะ)หละถ๋ะ (หละฐ๋ะ)ด๋ะหละทะ (หละฒะ)หละนะ (หละณะ)
ถอดอักษรฑ,ฎ,ด
สัทอักษร/lə.táʔ//lə.tʰáʔ//dáʔ//lə.tʰa᷇ʔ//lə.na᷇ʔ/
อักษรสูงสูงกลางต่ำ
ต วัคค์รูป
ชื่อต๋ะถ๋ะต๊ะทะ (ธะ)นะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/táʔ//tʰáʔ//ta᷇ʔ//tʰa᷇ʔ//na᷇ʔ/
อักษรสูงสูงต่ำต่ำ
ป วัคค์รูป

ชื่อบ๋ะป๋ะผ๋ะฝ๋ะป๊ะฟะพะ (ภะ)มะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/báʔ//páʔ//pʰáʔ//fáʔ//pa᷇ʔ//fa᷇ʔ//pʰa᷇ʔ//ma᷇ʔ/
อักษรกลางสูงต่ำ
อวัคค์ (เศษวรรค)
หมวดหลักเติมหลักเติมหลักเติมหลัก
อวัคค์รูป ᨿ
ชื่อญะ (ย)อย๋ะละ, ฮะ (ระ)ละวะ
ถอดอักษรอย
สัทอักษร/ɲa᷇ʔ//jáʔ//ra᷇ʔ/,/la᷇ʔ/,/ha᷇ʔ//la᷇ʔ//wa᷇ʔ/
อักษรต่ำกลางต่ำต่ำต่ำ
รูป
ชื่อส๋ะ (ศ๋ะ)ส๋ะ (ษ๋ะ)ส๋ะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/sáʔ//sáʔ//sáʔ/
อักษรสูงสูงสูง
รูป,
ชื่อห๋ะละ (ฬะ)อ๋ะฮะ
ถอดอักษร
สัทอักษร/háʔ//la᷇ʔ//ʔáʔ//ha᷇ʔ/
อักษรสูงต่ำกลางต่ำ

พยัญชนะซ้อน(พยัญชนะหาง)

พยัญชนะซ้อน (ตัวซ้อน) เป็นพยัญชนะที่ใส่ไว้ใต้พยัญชนะตัวอื่นเพื่อทำหน้าที่อย่างใดอย่างหนึ่งดังนี้ คือ 1. เพื่อห้ามไม่ให้พยัญชนะที่ไปซ้อน (ตัวข่ม) ออกเสียงสระอะ หรือ 2. เพื่อทำหน้าที่เป็นตัวสะกด ซึ่งพยัญชนะที่ล้านนารับมาจากภาษาอื่นตั้งแต่แรกจะมีรูปพยัญชนะซ้อนทุกตัว ยกเว้น กับ เท่านั้นที่ไม่มี พยัญชนะที่มีรูปพยัญชนะซ้อนมีดังต่อไปนี้

พยัญชนะนอกเหนือจากนี้ ซึ่งได้แก่ เป็นพยัญชนะที่ล้านนาประดิษฐ์ขึ้นมาเอง ดังนั้นจึงไม่มีรูปพยัญชนะซ้อน แต่อย่างไรก็ตามเพื่อให้สามารถเขียนคำที่มาจากภาษาต่างประเทศได้ใกล้เคียงกับภาษาเดิมมากที่สุด จึงสมควรมีการประดิษฐ์รูปพยัญชนะซ้อนของ และ ขึ้นมาเพิ่มเติม

พยัญชนะพิเศษ(เฉพาะ)

รูป

ชื่ออิ๋ แบบบาลีอี แบบบาลีอุ๋ แบบบาลีอู แบบบาลีเอ แบบบาลีลึลือ
ถอดอักษรอิอีอุอูเอฤ,ฤๅ (ฤๅ)
สัทอักษร/íʔ//īː//úʔ//ūː//ēː/lɯ᷇ʔ/lɯ̄ː/
รูปᨶᩣᨬ᩠ᨬ
ชื่อแลแล แบบไทลื้อนาญะญะส สองห้องระโฮง
ถอดอักษรแล/และนาญฺญสฺสร (ควบกล้ำ)
สัทอักษร/lɛ̄ː//nāː//n.ɲ//t.s/, /s.s/, /sː//r/, /l/, /ʰ/