อักษรอาหรับและการทับศัพท์ ของ อักษรอาหรับ

พยัญชนะ

ข้ออักษรชื่ออักษรภาษาไทยหมายเหตุ
1/ اฮัมซะฮ์/อลิฟอ, สระ อา
2บาอ์
3ตาอ์
4ษาอ์
5ญีมญ, จญ์ญะวาด, ฮัจญ์, ฮิจญ์เราะฮ์, ฮิญิร
6หาอ์
7คออ์
8ดาล
9ษาล
10รออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ร่อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เราะ>, <เราะฮ์> และ <เราะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ร่อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <รอ>
11ซัย
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ซะ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ซา>
12ซีนซ, ส
  • ถ้าเป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ส> เช่น <อับบาส>
  • ถ้าสะกดด้วยสระ ในภาษาไทยเป็น <ซ> <อับบาซียะฮ์>
13ชีน
14ศ้อด
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ศ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เศาะ>, <เศาะฮ์> และ <เศาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ศ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ศอ>
15ฎ๊อด
  • ถ้าสะกดด้วยฎ็อมมะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์+วาว ใช้ ด เป็น <ดุ> และ <ดู> เนื่องจากถ้าเขียนด้วย ฎ และ สระอุหรือสระอูแล้ว สระทั้งสอง จะไม่ปรากฏออกมา
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฎ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฎาะ> <เฎาะฮ์> และ <เฎาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฎ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฎอ>
16ฏออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฎ็อมมะฮ์ หรือฎ็อมมะฮ์+วาว ใช้ ต เป็น <ตุ> และ <ตู> เนื่องจากถ้าเขียนด้วย ฏ และ สระอุหรือสระอูแล้ว สระทั้งสอง จะไม่ปรากฏออกมา
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฏ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฏาะ>, <เฏาะฮ์> และ <เฏาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฏ็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฏอ>
17ซออ์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ซ่อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เซาะ>, <เซาะฮ์> และ <เซาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ซ่อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ซอ>
18อัยน์
  • ถ้าเป็นซุกูน จะเขียน อ์ ในภาษาไทย เช่น <มะอ์มูร>
19ฆอยน์
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ฆ็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <ฆอ>
20ฟาอ์
21ก๊อฟ
22ก๊าฟ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ในภาษาไทยเป็น <ก็อ>
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพยัญชนะฮัมซะฮ์ ฮาอ์ และหาอ์ที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <เฏาะ>, <เกาะฮ์> และ <เกาะฮ์> ตามลำดับ
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์ ตามด้วยพพยัญชนะอื่นที่เป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ก็อน> เป็นต้น
  • ถ้าสะกดด้วยฟัตฮะฮ์+อลิฟ ในภาษาไทยเป็น <กอ>
23ลาม
24มีม
25นูน
26วาว
27ฮาอ์ฮ, ห
  • ถ้าเป็นซุกูน ในภาษาไทยเป็น <ฮ์> เช่น <มะดีนะฮ์>
  • ถ้าสะกดด้วยสระ ในภาษาไทยเป็น <ฮ> เช่น <ฮิชาม>
28ยาอ์

สระ

ข้อคำอ่านเสียงสระหมายเหตุ
1ฟัตฮะฮ์สระอะถ้าตัว خ, ر, ص,ض,ط,ظ,غ,قเจอกับฟัตฮะฮ์ จะเป็นสระเอาะ
2กัสเราะฮ์สระอิ
3ฎ็อมมะฮ์สระอุ
4ฟัตฮะฮ์ + อลิฟสระอาเสียงยาว ถ้าเป็น خ, ر, ص,ض,ط,ظ,غ,ق เจอกับฟัตฮะฮ์อลิฟจะเป็นสระออ
5กัสเราะฮ์ + ยาอ์สระอีเสียงยาว
6ฎ็อมมะฮ์ + วาวสระอูเสียงยาว
7ฟัตฮะฮ์ + ยาอ์อัย,เอถ้าพยางค์นั้นลงท้ายด้วยพยัญชนะที่เป็นซุกูน จะเป็น สระเอ เช่น <ฮุเซน>, ถ้าเป็น خ , ر, ص, ض, ط,ظ,غ,ق เจอกับฟัตฮะฮ์ + ยาอ์ จะเป็นสระอ็อย
8ฟัตฮะฮ์ + วาวเอา เช่น <เลา>خ , ر, ص, ض, ط,ظ,غ,ق จะเป็นสระอ็อว