อักษรไบบายิน

ต้นกำเนิดของอักษรพราหมีไม่ชัดเจนอักษรไบบายิน (อังกฤษ: Baybayin alphabet) เป็นอักษรที่ใช้เขียนภาษาตากาล็อกและภาษาอีโลกาโน ได้ต้นแบบมาจากอักษรกวิ คาดว่าเริ่มใช้เมื่อราว พ.ศ. 1900 และยังคงใช้อยู่เมื่อเป็นอาณานิคมของสเปน ไบบายิน แปลว่า การสะกด พยัญชนะมีพื่นเสียงเป็น อะ เมื่อมิชชันนารีเข้ามาเผยแผ่ศาสนา ได้เพิ่มเครื่องหมายกดเสียงสระ ในการแปลคัมภีร์ไบเบิลเป็นภาษาพื้นเมือง

อักษรไบบายิน

ISO 15924 Tglg
ช่วงยุค พุทธศตวรรษที่ 18–24
ระบบแม่

ต้นกำเนิดของอักษรพราหมีไม่ชัดเจน

อักษรโปรโต-ซินายติก
ช่วงยูนิโคด U+1700-U+171F
ชนิด อักษรสระประกอบ
ภาษาพูด ตากาล็อก