ผลกระทบนอกฟาร์ม ของ เกษตรกรรมยั่งยืน

ฟาร์มที่สามารถ "ผลิตตลอดกาล" แต่ยังมีผลกระทบด้านลบต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมทุกแห่ง ถือไม่ได้เป็นเกษตรกรรมแบบยั่งยืน ตัวอย่างหนึ่งที่ซึ่งมุมมองของโลกอาจจะรับรองก็คือการใส่ปุ๋ยสังเคราะห์หรือมูลสัตว์มากเกินไปซึ่งสามารถเพิ่มผลผลิตของฟาร์ม แต่สามารถก่อให้เกิดมลพิษในแม่น้ำและน้ำทะเลชายฝั่งที่ใกล้เคียง (เรียกว่าการทำเกษตรกรรมมากเกินไป (อังกฤษ: eutrophication)) อีกต้วอย่างหนึ่งที่ค่อนข้างสุดขั้วยังอาจเป็นสิ่งไม่พึงประสงค์ เช่นปัญหาของผลผลิตพืชตกต่ำเนื่องจากความขาดแคลนธาตุอาหารในดินอันเนื่องมาจากการทำลายของป่าฝนเขตร้อน และในกรณีของการเผาป่าทำฟาร์มปศุสัตว์ ในเอเชีย ที่ดินที่เฉพาะเจาะจงสำหรับการเกษตรกรรมอย่างยั่งยืนมีประมาณ 12.5 เอเคอร์ซึ่งรวมถึงที่ดินสำหรับอาหารสัตว์ ที่ดินสำหรับการผลิตธัญพืชเงินสดบางอย่างและแม้แต่การรีไซเคิลของพืชอาหาร ในบางกรณีแม้แต่หน่วยเล็กๆของการเพาะเลี้ยงสัตว์ยังรวมอยู่ในจำนวนนี้ (AARI-1996)

ความยั่งยืนส่งผลกระทบต่อการผลิตโดยรวมซึ่งต้องเพิ่มขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการอาหารและความต้องการเส้นใยที่เพิ่มขึ้นเมื่อประชากรมนุษย์ในโลกขยายจำนวนตามที่คาดการณ์ไว้ที่ 9.3 พันคนภายในปี 2050 การผลิตที่เพิ่มขึ้นอาจจะมาจากการสร้างพื้นที่เพาะปลูกใหม่ซึ่งอาจเยียวยาการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถ้าทำด้วยการบุกเบิกทะเลทรายเช่นเดียวกับในอิสราเอลและปาเลสไตน์ หรืออาจทำให้การปล่อยก๊าซเลวลงถ้าทำโดยการแผ้วทางและเผาทำลายเช่นเดียวกับในประเทศบราซิล

แหล่งที่มา

WikiPedia: เกษตรกรรมยั่งยืน http://agbu.une.edu.au/~aaabg/rsga/im.html http://www.mcgill.ca/channels/news/advances-sustai... http://news.mongabay.com/bioenergy/2008/03/scienti... http://www.nature.com/nature/journal/v406/n6797/ab... http://www.nytimes.com/2008/04/21/us/21meat.html http://www.sciencedirect.com/science/article/pii/S... http://www.verticalfarm.com/pdf/PopSci-Jul-2007.pd... http://www.sarep.ucdavis.edu/concept.htm http://www.nal.usda.gov/afsic/pubs/agnic/susag.sht... http://www.sardc.net/imercsa/Programs/CEP/Pubs/CEP...