เชิงอรรถและอ้างอิง ของ เซลล์ประสาทรับความรู้สึก

  1. Purves et al., 207-392
  2. Purves et al., pg 207
  3. Purves et al., 209
  4. Purves et al., 215-216
  5. แค็ปไซซิน (Capsaicin) เป็นสารเคมีกัมมันต์ในพริก ซึ่งเป็นพืชในสกุล Capsicum เป็นสารระคายเคืองในสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม รวมทั้งมนุษย์ และทำให้เกิดความรู้สึกร้อนในเนื้อเยื่อที่ถูกกระทบสัมผัส
  6. Lee 2005
  7. Lee 2005
  8. Lee 2005
  9. Halligan 1999
  10. de Jong 2006
  11. Alguire 1990
  12. Diabetic retinopathy 2005
  13. การเพิ่มขั้ว (hyperpolarization) เป็นความเปลี่ยนแปลงของศักย์เยื่อหุ้มเซลล์ โดยความเป็นขั้วลบมากขึ้น เป็นความเป็นไปที่ตรงกันข้ามกับการทำให้ไร้ขั้ว (depolarization) เป็นการห้ามการสร้างศักยะงานของเซลล์ โดยเพิ่มระดับการกระตุ้นที่จะเปลี่ยนศักย์ของเยื่อหุ้มเซลล์ ให้ไปถึงระดับขีดเริ่มเปลี่ยนที่จะให้เกิดศักยะงาน
  14. stereocilia เป็นส่วนดัดแปลงบนยอดของเซลล์ ต่างจากซีเลีย และไมโควิลไล (microvilli) แต่มีส่วนเหมือนกับไมโควิลไล มากกว่าซีเลีย คือเป็นส่วนของเยื่อหุ้มเซลล์ที่ยื่นออกมา
  15. superior olivary complex (ตัวย่อ SOC) เป็นกลุ่มของนิวเคลียสในก้านสมองที่มีหน้าที่หลายอย่างเกี่ยวกับการได้ยิน และเป็นองค์ประกอบที่สำคัญของวิถีประสาททั้งขาขึ้นและทั้งขาลง
  16. Purves et al., pg 327-330
  17. Auditory processing disorder, 2004
  18. Stefanatos et al., 2005
  19. Lee 2005
  20. Priuska and Schact 1997
  21. การรักษาด้วยการเคลื่อนไหวมีอวัยวะถูกรัด (constraint-induced movement therapy) เป็นแบบหนึ่งของการพยาบาลฟื้นสภาพ ที่เพิ่มระดับการใช้งานของอวัยวะเบื้องบน ในคนไข้โรคหลอดเลือดสมองและโรคระบบประสาทกลางอื่น ๆ
  22. Schwartz and Begley 2002
  23. Ramachandran 1998