นิยาม ของ เทสลา_(หน่วยวัด)

อนุภาคใด ๆ ที่มีประจุ 1 คูลอมบ์ และเคลื่อนที่ตั้งฉากตลอดกับสนามแม่เหล็ก 1 เทสลา ด้วยอัตราเร็ว 1 เมตรต่อวินาที อนุภาคนั้นจะได้ถูกแรงกระทำขนาด 1 นิวตัน โดยอิงตามกฎของแรงลอเรนซ์ ซึ่งหน่วยเทสลาสามารถแสดงเป็นหน่วยอนุพัทธ์เอสไอได้ดังต่อไปนี้

T = V ⋅ s m 2 = N A ⋅ m = J A ⋅ m 2 = H ⋅ A m 2 = Wb m 2 = kg C ⋅ s = N ⋅ s C ⋅ m = kg A ⋅ s 2 {\displaystyle {\text{T}}={\dfrac {{\text{V}}{\cdot }{\text{s}}}{{\text{m}}^{2}}}={\dfrac {\text{N}}{{\text{A}}{\cdot }{\text{m}}}}={\dfrac {\text{J}}{{\text{A}}{\cdot }{\text{m}}^{2}}}={\dfrac {{\text{H}}{\cdot }{\text{A}}}{{\text{m}}^{2}}}={\dfrac {\text{Wb}}{{\text{m}}^{2}}}={\dfrac {\text{kg}}{{\text{C}}{\cdot }{\text{s}}}}={\dfrac {{\text{N}}{\cdot }{\text{s}}}{{\text{C}}{\cdot }{\text{m}}}}={\dfrac {\text{kg}}{{\text{A}}{\cdot }{\text{s}}^{2}}}}

(สมการตัวสุดท้ายเป็นหน่วยฐานเอสไอ)[2]

หน่วยที่ใช้มีดังนี้

A = แอมแปร์C = คูลอมบ์kg = กิโลกรัมm = เมตรN = นิวตันs = วินาทีH = เฮนรีV = โวลต์J = จูลWb = เวเบอร์