การคำนวณหากัมมันตภาพ ของ เบ็กเคอเรล

มีไอโซโทปสารกัมมันตรังสีที่มีมวลต่อโมล (หรือมวลอะตอม) m a {\displaystyle m_{a}} g/mol ครึ่งชีวิต t 1 / 2 {\displaystyle t_{1/2}} s ปริมาณ m {\displaystyle m} g จะสามารถคำนวณกัมมันตภาพได้จากสมการต่อไปนี้

A B q = m m a N A ln ⁡ ( 2 ) t 1 / 2 {\displaystyle A_{Bq}={\frac {m}{m_{a}}}N_{A}{\frac {\ln(2)}{t_{1/2}}}}

โดยที่ N A {\displaystyle N_{A}} =6.022 141 79(30)×1023 mol−1 เป็นเลขอาโวกาโดร

ถ้ากำหนดให้จำนวนโมล n เท่ากับ m/ma อาจเขียนสมการข้างบนได้เป็น

A B q = n N A ln ⁡ ( 2 ) t 1 / 2 {\displaystyle A_{Bq}=nN_{A}{\frac {\ln(2)}{t_{1/2}}}}

ตัวอย่างเช่น โดยเฉลี่ยโพแทสเซียมหนึ่งกรัมจะมี 40K ซึ่งเป็นไอโซโทปไม่เสถียรอยู่ 117 μg (ไอโซโทปอื่นที่เกิดตามธรรมชาติเสถียรทุกตัว) ครึ่งชีวิตของ 40K อยู่ที่ 1.277×109 years = 4.030×1016 s[13] และมวลต่อโมลของ 40K อยู่ที่ 39.964 g/mol,[14] จากสมการจะได้ว่า ปริมาณการแผ่รังสี หรือกัมมันตภาพของ 40K มีค่า 30 Bq.

แหล่งที่มา

WikiPedia: เบ็กเคอเรล http://www.thaiglossary.com/search/Becquerel http://adsabs.harvard.edu/abs/1946Sci...103..761L http://adsabs.harvard.edu/abs/1995Metro..31..467A http://www.fas.harvard.edu/~scdiroff/lds/QuantumRe... //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/1251122 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pubmed/17836457 http://physics.nist.gov/cgi-bin/Compositions/stand... http://www.bipm.org/en/CGPM/db/15/8/ http://www.bipm.org/en/publications/si-brochure/se... http://www.bipm.org/en/publications/si-brochure/se...