อ้างอิง ของ เพียเมืองแพน

  1. ราชบัณฑิตยสถาน, สารานุกรมประวัติศาสตร์ไทย เล่ม ๒ อักษร ข-จ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน, (กรุงเทพฯ: กองธรรมศาสตร์และการเมือง, ๒๕๔๕), หน้า ๙.
  2. เอกสาร ร.๕ ม.๒. ๑๒ก/๑ (๙๒). ใบบอกเมืองขอนแก่น เขียนที่ว่าราชการเมืองขอนแก่นฝ่ายเมืองเดิม. ๒๘ เมษายน ร.ศ. ๑๐๙.
  3. ราชบัณฑิตยสถาน, ประชุมจารึกวัดพระเชตุพนฯ: ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ สมเด็จพระอริยวงศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช (ปุ่น ปุณฺณสิริ) ณ เมรุหน้าพลับพลาอิศริยาภรณ์ วัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๓ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๑๗, (กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ศิวพร, ๒๕๑๗), หน้า ๑๙๐.
  4. เติม วิภาคย์พจนกิจ, ประวัติศาสตร์อีสาน, พิมพ์ครั้งที่ ๓, (กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ร่วมกับมูลนิธิโครงการตําราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๔๒), หน้า ๒๖๕.
  5. จารุบุตร เรืองสุวรรณ, ของดีอีสาน, พิมพ์ครั้งที่ ๔, (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา, ๒๕๒๐), หน้า ๔๗.
  6. ทองสุข เศรษฐภูมิรินทร์, ประวัติต้นตระกูลพระยานครศรีบริรักษ์: อดีตผู้ว่าราชการเมืองขอนแก่น (เจ้าเมืองขอนแก่น) พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ คุณแม่ประทุม นครศรีฯ ณ เมรุวัดหนองแวง เมืองเก่า จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘, (ขอนแก่น: ม.ป.พ., ๒๕๐๘), หน้า เชื้อสายตระกูลนครศรีบริรักษ์ (อดีตเจ้าเมืองขอนแก่น).
  7. บริษัทมงคลการพิมพ์และโฆษณา จำกัด, ขอนแก่น: Contributed articles on the cultural aspects of Khon Kaen Province, Thailand, (ขอนแก่น: บริษัทมงคลการพิมพ์และโฆษณา จำกัด, ๒๕๒๙), หน้า ๓๗.
  8. ตำแหน่งเพียเมืองแพนคือกรมการหรือขื่อบ้านขางเมืองผู้ช่วยอาญาสี่, สำนักราชเลขาธิการ พระตําหนักจิตรลดารโหฐาน, รายงานการประชุมเสนาบดีสภา ร.ศ. ๑๑๑ เล่ม ๑-๓: งานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมหลวงทวีสันต์ ลดาวัลย์ ณ เมรุหลวงวัดเทพศิรินทราวาส ๑๙ เมษายน ๒๕๕๐, (กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง, ๒๕๕๐), หน้า ๔๕๖.
  9. ประมวล พิมพ์เสน, สิ่งแวดล้อมศิลปกรรมนำเที่ยวขอนแก่น, (ขอนแก่น: หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น, ๒๕๔๐), หน้า ๑๐.
  10. เวนิสา เสนีวงศ์ฯ, เจ้าจอมสยาม, (กรุงเทพฯ: บริษัท ไพลินบุ๊คเน็ต จำกัด (มหาชน), ๒๕๖๐), หน้า ๔๕-๔๗.
  11. เอนก นาวิกมูล, เจ้านายชาวสยาม (Siamese nobilities), (กรุงเทพฯ: แสงดาว, ๒๕๕๐), หน้า ๑๖๖, ๑๘๕-๑๘๖.
  12. ดูรายละเอียดใน จรัสพรปฏิภาณ, พระองค์เจ้าชาย กรมหมื่นจรูญโรจน์เรืองศรี, อนุสรณ์งานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมราชวงศ์ พูนเรืองศรี วัชรีวงศ์ เป็นกรณีพิเศษ: ณ เมรุวัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร วันอังคารที่ ๑๔ กันยายน ๒๕๔๒, อนุวิทย์ วัชรีวงศ์, หม่อมราชวงศ์ (บรรณาธิการ), (กรุงเทพฯ: วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร กรุงเทพมหานคร, ๒๕๔๒), ๑๕๕ หน้า.
  13. เอกสารบางแห่งระบุว่าเพี้ยเมืองแพนบ้านชีโหล่นเป็นหลานเจ้าแก้วบูฮมหรือเจ้าแก้วมงคลหลังเป็นเจ้าเมืองขอนแก่นได้เลื่อนเป็นพระยานครบริรักษ์เจ้าเมือง, อุดม บัวศรี และคณะ, เที่ยวอีสาน: เรียบเรียงโดยย่อยจากผลงานวิจัย เรื่อง การพัฒนาการท่องเที่ยวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร่วมกับข้อมูลและวิธีการจากเอกสารอื่น, เรียบเรียงโดยธวัช ปุณโณทก, (ขอนแก่น: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น สนับสนุนโดย องค์การบริหารวิเทศกิจแห่งสหรัฐอเมริกา (USAID), ๒๕๓๒), หน้า ๙๙. และ ดูรายละเอียดใน ชิน อยู่ดี, โบราณวัตถุสถานทั่วพระราชอาณาจักร: จอมพล ป.พิบูลสงคราม โปรดให้พิมพ์ในงานฉลอง ๒๕ พุทธศตวรรษ, (กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร, ๒๕๐๐), ๓๙๓ หน้า. และ สำนักงานจังหวัดขอนแก่น กระทรวงมหาดไทย, ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดขอนแก่น, (กรุงเทพฯ: จินดาสาส์น, ๒๕๒๙).
  14. รุ่งอรุณ ทีฆชุณหเถียร และวิไลวรรณ สมโสภณ, "คำลงท้ายในภาษาถิ่นจังหวัดขอนแก่น", รายงานการวิจัย, (ขอนแก่น: คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ๒๕๓๑), หน้า ๑๙.
  15. สิริกุล พิชัยจุมพล และคณะ, แหล่งท่องเที่ยวอีสานบน, (กรุงเทพฯ: กองโบราณคดี กรมศิลปากร, ๒๕๓๔), หน้า ๓๑.
  16. บึงบอนบ้านดอนพยอมเมืองเพี้ยปัจจุบันตื้นเขินเป็นที่นาแต่มีต้นบอนขึ้นอยู่จำนวนมาก วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่, ข้อมูลจังหวัด อำเภอ: ข้อมูลประวัติจังหวัดขอนแก่น, (ขอนแก่น: วิทยาลัยการอาชีพบ้านไผ่, ม.ป.ป.), หน้า ๘๒-๘๓.
  17. ดารารัตน์ เมตตาริกานนท์, การเมืองสองฝั่งโขง: งานค้นคว้าวิจัยระดับปริญญาเอกของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เรื่องการรวมกลุ่มทางการเมืองของ ส.ส.อีสาน พ.ศ. ๒๔๗๖-๒๔๙๔, (กรุงเทพฯ: มติชน, ๒๕๔๖), หน้า ๕๖.
  18. อำพัน กิจงาม และคณะ, ตำนานและนิทานพื้นบ้านอีสาน, นิติ แสงวัณณ์ และคณะ, คณะบรรณาธิการ, (กรุงเทพฯ: กองโบราณคดี กรมศิลปากร, ๒๕๓๑), หน้า ๑๓๖.
  19. เกริกฤทธิ์ เชื้อมงคล, ลาว จากกรุงศรีสัตนาคนหุตสู่ สปป.ลาว: พลิกหน้าประวัติศาสตร์ร้าวลึกของประเทศบ้านพี่เมืองน้อง, (กรุงเทพฯ: เพชรประกาย, ๒๕๕๘), หน้า ๑๔๘.
  20. กรมศิลปากร, ประชุมพงศาวดารฉบับกาญจนาภิเษก เล่ม ๙: คณะกรรมการอำนวยการจัดงานฉลองสิริราชสมบัติครบ ๕๐ ปี, (กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, ๒๕๕๓), หน้า ๔๖๖.
  21. สันนิษฐานว่าเจ้านางเขียวค้อมหมายถึงเจ้านางแก้วยอดฟ้ากัลยาณีศรีกษัตริย์หรือเจ้าองค์นาง ดูรายละเอียดใน "พงศาวดารเมืองยโสธร", ใน กรมศิลปากร, ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๗๐ เรื่อง เมืองนครจำปาศักดิ์: พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพ หม่อมเจ้าหญิงคอยท่า ปราโมช ณ เมรุวัดเทพศิรินทราวาส วันที่ ๒๖ มีนาคม พ.ศ. ๒๔๘๔, (พระนคร: โรงพิมพ์พระจันทร์, ๒๔๘๔), หน้า ๑๓๘-๑๓๙., สิลา วีระวงส์ (เรียบเรียง), ประวัติศาสตร์ลาว (ศิลปวัฒนธรรมฉบับพิเศษ), แปลเป็นภาษาไทยโดย สมหมาย เปรมจิตต์, พิมพ์ครั้งที่ ๒, (กรุงเทพฯ: บริษัท มติชน จำกัด (มหาชน), ๒๕๓๙), หน้า ๑๕๑. และ ศิลา วีระวงศ์, มหา (เรียบเรียง), พงศาวดานลาว, (เวียงจันทน์: สำนักงาน ส.ธรรมภักดี, ๒๔๙๖), หน้า ๑๖๑.
  22. สุวิทย์ ธีรศาศวัต, ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจชุมชนหมู่บ้านอีสาน ๒๔๘๘-๒๕๔๔, (กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์, ๒๕๔๖), หน้า ๓๘.
  23. นรวัฒน์ จอมสุวรรณ, "ขอนแก่นเมืองหมอแคนฉลอง ๒๐๐ ปีสุดยอด", ศูนย์สารนิเทศอีสานสิรินธร. เลขทะเบียน ๓๘๗๑, ไทยโพสต์ (พฤศจิกายน ๒๕๓๙): ๙ (๑).
  24. กรมศิลปากร, ประชุมพงศาวดารภาค ๔ และประวัติท้องที่จังหวัดมหาสารคาม: พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ พระสารคามมุนี (สาร ภวภูตานนท์) เจ้าคณะจังหวัดมหาสารคาม ๘ มีนาคม ๒๕๐๖, (พระนคร: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น, ๒๕๐๖), หน้า ๔๓.
  25. พิสิฐ วิสิฏฺฐปญฺโญ, พระมหา, "คุณค่าของพระธาตุเจดีย์ที่มีต่อวิถีชีวิตของประชาชนในจังหวัดขอนแก่น ร้อยเอ็ด และมหาสารคาม", Journal of Buddhist Education and Research มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ (กรกฎาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒): ๒๔๘.
  26. สุมิตราไอยรา, "พฤติกรรมและความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มีต่อวัดพระมหาธาตุแก่นนคร อำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น", วิชาการและวิจัย มหาวิทยาลัยภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ (มกราคม-เมษายน ๒๕๖๑): ๕๙
  27. รายสมชื่น ฮอนซา จูเนียร์, "ภูมิหลังและคติชนวิทยาที่เกี่ยวข้องกับสถานที่สำคัญของชุมชนเมืองรอบบึงแก่นนคร", สำนักบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ ๑๐ ฉบับที่ ๓ (กรกฎาคม-กันยายน ๒๕๔๕): ๕๖-๕๗.
  28. หลักฐานบางแห่งระบุว่าเป็นเจ้าเมืองขอนแก่นใน พ.ศ. ๒๓๓๕, อาริยานุวัตร เขมจารี, พระ, เหล่ากอเมืองปฐมอีสาน (เมืองทุ่งศรีขรภูมิ): ๒ กรกฎาคม ๒๕๒๖, (มหาสารคาม: ม.ป.พ., ๒๕๒๖), หน้า ๕-๖. (อัดสำเนา)
  29. อนุชิต สิงห์สุวรรณ, "ประวัติศาสตร์นิพนธ์อีสาน พ.ศ. ๒๔๗๕ ถึงสิ้นทศวรรษ ๒๕๒๐", วิทยานิพนธ์อักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร์ศึกษา, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๕๓), หน้า ๑๕๑-๑๕๒.
  30. ประมวล พิมพ์เสน, บันทึกประวัติศาสตร์เมืองขอนแก่น: เปิดเผยหลักฐานข้อมูลการตั้งเมืองขอนแก่น วิวัฒนาการของเมืองขอนแก่น เหมาะสำหรับนักเรียน นักศึกษาวิชาประวัติศาสตร์ วิชาท้องถิ่นของเรา เหมาะสำหรับชาวขอนแก่น และประชาชนผู้สนใจทุกท่าน, จัดพิมพ์โดยศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดขอนแก่น โรงเรียนกัลยาณวัตร, (ขอนแก่น: พระธรรมขันต์, ๒๕๔๑), หน้า ๙๑-๙๔.
  31. เอกสาร ร.๕ ม.๒. ๑๒ก/๑ (๙๒). ใบบอกเมืองขอนแก่น เขียนที่ว่าราชการเมืองขอนแก่นฝ่ายเมืองเดิม. ๒๘ เมษายน ร.ศ. ๑๐๙.
  32. ขัติยวงษา (เหลา ณร้อยเอ็จ), พระยา, พงศาวดารภาคอีสาน ฉะบับของ พระยาขัติยวงษา (เหลา ณร้อยเอ็จ): พิมพ์ในงานปลงศพ นางศรีสุภา (โต เอี่ยมศิริ) ณเชิงบรมบรรพต วัดสระเกศ เมื่อปีมะเส็ง พ.ศ. ๒๔๗๒, จัดพิมพ์โดยจรูญชวนะพัฒน์, พระ, (พระนคร: ศรีหงส์, ๒๔๗๒), หน้า ๑๓.
  33. อมรวงษ์วิจิตร (หม่อมราชวงศ์ปฐม คเนจร), หม่อม, (๒๔๕๘). "พงษาวดารหัวเมืองมณฑลอิสาณ หม่อมอมรวงษ์วิจิตร (ม.ร.ว.ปฐม คเนจร) เรียบเรียง ภาคที่ ๑: คัดจากประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๔ อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม, ท.ช, รัตน ว,ป,ร. ๔ พิมพ์แจกในงานศพ พัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. ๒๔๕๘", วิกิซอร์ซ [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://th.wikisource.org/wiki/%E0%B8%9E%E0%B8%87%E0% [๘ ธันวาคม ๒๕๖๓]., อ้างใน โบราณคดีสโมสร, ประชุมพงศาวดาร ภาคที่ ๔: อำมาตย์เอก พระยาศรีสำรวจ (ชื่น ภัทรนาวิก) ม.ม, ท.ช, รัตน ว,ป,ร. ๔ พิมพ์แจกในงานศพ พัน ภัทรนาวิก ผู้มารดา เมื่อปีเถาะสัปตศก พ.ศ. ๒๔๕๘, (กรุงเทพฯ: โสภณพิพรรฒธนากร ถนนราชบพิธ, ๒๔๕๘).
  34. บ้างระบุว่าท้าวมุ่งหรือมุงได้เป็นพระนครศรีบริรักษ์เจ้าเมืองขอนแก่นที่บ้านโนนทันเดิมและมีพี่น้อง ๓ ท่านคือ ราชบุตร์ (ท้าวคำพาง) พระนครศรีบริรักษ์ (ท้าวอิน) เจ้าเมืองขอนแก่น และสตรีไม่ปรากฏนามซึ่งสมรสกับกับท้าวขัติยะ ทั้งหมดเป็นบุตรธิดาพระนครศรีบริรักษ์ (คำยวง) เจ้าเมืองขอนแก่น นอกจากนี้เพียเมืองแพนยังมีหลานนามว่าพระราชวงษาต่อมาเลื่อนเป็นราชวงศ์เมืองขอนแก่นซึ่งไม่ทราบว่าเกิดจากบุตรธิดาท่านใด
  35. วีรวัลย์ งามสันติกุล (บรรณาธิการ), ศุภวัฒย์-ศุภวาร จุลพิจารณ์: ข้อเขียนเพื่อแสดงมุทิตาจิตในโอกาสที่ พลตรี หม่อมราชวงศ์ ศุภวัฒย์ เกษมศรี มีอายุครบ ๖ รอบ ในพุทธศักราช ๒๕๔๗, (กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๗), หน้า ๑๗.
  36. ทองสุข เศรษฐภูมิรินทร์, ประวัติต้นตระกูลพระยานครศรีบริรักษ์: อดีตผู้ว่าราชการเมืองขอนแก่น (เจ้าเมืองขอนแก่น) พิมพ์เป็นอนุสรณ์ในงานฌาปนกิจศพ คุณแม่ประทุม นครศรีฯ ณ เมรุวัดหนองแวง เมืองเก่า จังหวัดขอนแก่น วันที่ ๒๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๐๘, หน้า ประวัติ คุณแม่ประทุม นครศรีฯ-เชื้อสายตระกูลนครศรีบริรักษ์ (อดีตเจ้าเมืองขอนแก่น), ๑-๓, ๑๓-๑๖, ๒๒-๒๘.
  37. หน่วยอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิ่นจังหวัดขอนแก่น โรงเรียนกัลยาณวัตร, อนุสาวรีย์พระนครศรีบริรักษ์บรมราชภักดี, (ขอนแก่น: สำนักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และสำนักจัดการสิ่งแวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม, ๒๕๖๒), หน้า ๑. (อัดสำเนา)
  38. สำนักงานจัดหางานจังหวัดขอนแก่น, ที่มาของจังหวัดขอนแก่น, (ขอนแก่น: สำนักงานจัดหางานจังหวัดขอนแก่น ศาลาประชาคมจังหวัดขอนแก่น, ๒๕๕๓), หน้า ๑. (อัดสำเนา)