นิยาม ของ เฮนรี_(หน่วยวัด)

ความเหนี่ยวนำไฟฟ้าในวงจร 1 เฮนรี เกิดขึ้นเมื่อกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนไป 1 แอมแปร์ต่อวินาที ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าวิ่งเข้าไปที่ตัวเหนี่ยวนำ 1 โวลต์:

v ( t ) = L d i d t {\displaystyle \displaystyle v(t)=L{\frac {di}{dt}}} ,

โดย v(t) คือศักย์ไฟฟ้าลัพธ์ทั้งวงจร, i(t) คือกระแสไฟฟ้าที่วิ่งผ่านวงจร และ L คือความเหนี่ยวนำในวงจร

เฮนรีเป็นหน่วยอนุพัทธ์เอสไอที่มาจาก 4 หน่วยเอสไอ คือ กิโลกรัม (kg), เมตร (m), วินาที (s) และแอมแปร์ (A) ซึ่งจะได้ความสัมพันธ์ดังนี้:[2]

H = kg ⋅ m 2 s 2 ⋅ A 2 = kg ⋅ m 2 C 2 = J A 2 = T ⋅ m 2 A = Wb A = V ⋅ s A = s 2 F = 1 F ⋅ Hz 2 = Ω ⋅ s {\displaystyle {\mbox{H}}={\dfrac {{\mbox{kg}}\cdot {\mbox{m}}^{2}}{{\mbox{s}}^{2}\cdot {\mbox{A}}^{2}}}={\dfrac {{\mbox{kg}}\cdot {\mbox{m}}^{2}}{{\mbox{C}}^{2}}}={\dfrac {\mbox{J}}{{\mbox{A}}^{2}}}={\dfrac {{\mbox{T}}\cdot {\mbox{m}}^{2}}{\mbox{A}}}={\dfrac {\mbox{Wb}}{\mbox{A}}}={\dfrac {{\mbox{V}}\cdot {\mbox{s}}}{\mbox{A}}}={\dfrac {{\mbox{s}}^{2}}{\mbox{F}}}={\dfrac {\mbox{1}}{{\mbox{F}}\cdot {\mbox{Hz}}^{2}}}=\Omega \cdot {\mbox{s}}}

โดยหน่วยอนุพัทธ์ที่เพิ่มเติมมา คือ คูลอมบ์ (C), ฟารัด (F), จูล (J), เวเบอร์ (Wb), เทสลา (T), โวลต์ (V), เฮิรตซ์ (Hz) และโอห์ม (Ω)

ใกล้เคียง

เฮนรี กุสตาฟ โมไลสัน เฮนรี อานิเยร์ เฮนรี แควิลล์ เฮนรี อาลาบาศเตอร์ เฮนรี จอร์จ เฮนรี สแตฟฟอร์ด ดยุกที่ 2 แห่งบักกิงแฮม เฮนรี คิสซินเจอร์ เฮนรี หลิว เฮนรี เดวิด ทอโร เฮนรียุวกษัตริย์