ประเภทของลิ้นแคน ของ แคน

ใช้ทองแดงผสมเงิน ช่างที่มีฝีมือนิยมใช้เหรียญสมัยรัชกาลที่ห้า น้ำหนักเงิน 1 บาท ผสมกับเหรียญสตางค์ แบ่งออกเป็น

  1. ลิ้นเงิน แบ่งออกเป็น
    1. เงินสองทองหนึ่ง มีเนื้อเงินมากที่สุดให้เสียงนุ่มละมุน มีน้ำหนักลงลึกมีมิติ ส่วนมากมีในช่างอุบลรุ่นก่อน ๆ ปัจจุบันแทบไม่มีทำแล้ว
    2. เงินสองทองสาม มีเนื้อเงินน้อยกว่าแบบแรก ให้เสียงที่สดใสขึ้น แต่น้ำหนักเสียงลดลง
  2. ลิ้นเงินสับทอง (สลับหรือผสม) มีทองแดง 50% ขึ้นไป มีอัตราไม่แน่นอนแล้วแต่ช่างจะคิดขึ้นมาเฉพาะตัว ให้เสียงที่ดังกังวาน ดังไกล แต่น้ำหนักเสียงเบา เป่ายาก ใช้ลมมาก การอยู่ตัวของลิ้นยากขึ้นเช่น เงินหนึ่งทองสี่ เงินหนึ่งทองหก เงินหนึ่งทองสิบ
  3. ลิ้นทอง อาจเป็นทองแดง ทองสำริด ปลอกกระสุน ฯลฯ
เครื่องดีด
เครื่องสี
เครื่องตี
เครื่องไม้
เครื่องโลหะ
เครื่องหนัง
เครื่องเป่า
มีลิ้น
ไม่มีลิ้น
เครื่องดนตรีอื่นๆ
แบ่งตามภาค
ภาคเหนือ
ภาคอีสาน
ภาคกลาง
ภาคใต้
ดนตรีและเพลงร้อง
วงสะล้อ ซอ ปิน · ซอล้านนา · หมอลำพื้น · หมอลำกลอน · ลำผญา · เพลงโคราช · ดิเกร์ ฮูลู · ปี่พาทย์ · กระจับปี่ · เปี๊ยะ · ขับเสภา · ดนตรีของกลุ่มชาติพันธุ์ลีซู · ซอสามสาย · เพลงหน้าพาทย์ · กันตรึม · เจรียง · กาหลอ · วงปี่จุม · วงมังคละ · วงมโหรี · แคน · พิณ · กรือโต๊ะ · ลำตัด · เพลงอีแซว · สวดสรภัญญ์ · เพลงบอก · เพลงเรือแหลมโพธิ์ · เค่ง · เพลงฉ่อย · เพลงเรือ · เพลงนา · แตรวง · โปงลาง · กลองอืด
นาฏศิลป์และการละคร
โขน · หนังใหญ่ · ละครชาตรี· โนรา · หนังตะลุง · ละครใน · หุ่นกระบอก · ลิเกทรงเครื่อง · รำเพลงช้า-เพลงเร็ว · แม่ท่ายักษ์-ลิง · ละครนอก · การแสดงในพระราชพิธี · ก้านกกิงกะหร่า · ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา · รำฝรั่งคู่ · ละครดึกดำบรรพ์ · โนราโรงครู · มะโย่ง · รองเง็ง · ฟ้อนเล็บ · รำประเลง · ฟ้อนกลองตุ้ม · ลิเกป่า · ฟ้อนโยคีถวายไฟ · ระบำสี่บท · รำแม่บท · รำโทน · หนังประโมทัย · รำมอญ · รำตร๊ด · ลำแมงตับเต่าไทเลย
บทความเกี่ยวกับเพลง ดนตรี หรือ เครื่องดนตรีนี้ยังเป็นโครง คุณสามารถช่วยวิกิพีเดียได้โดยเพิ่มข้อมูล ดูเพิ่มที่ สถานีย่อย:ดนตรี