ตัวเชื่อมโดยทั่วไปในโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ ของ โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์

สารอินทรีย์ที่ใช้เป็นตัวเชื่อมในโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์มีหลายชนิด ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ชื่อสามัญชื่อ IUPACสูตรโมเลกุลสูตรโครงสร้าง
กรดไดคาร์บอกซิลิก
กรดออกซาลิกethanedioic acidHOOC-COOH
กรดมาโลนิกpropanedioic acidHOOC-(CH2)-COOH
กรดซักซินิกbutanedioic acidHOOC-(CH2)2-COOH
กรดกลูตาริกpentanedioic acidHOOC-(CH2)3-COOH
กรดพาทาลิกbenzene-1,2-dicarboxylic acid
o-phthalic acid
C6H4(COOH)2
กรดไอโซพาทาลิกbenzene-1,3-dicarboxylic acid
m-phthalic acid
C6H4(COOH)2
กรดเทอเรพทาริกbenzene-1,4-dicarboxylic acid
p-phthalic acid
C6H4(COOH)2
กรดไตรคาร์บอกซิลิก
กรดซิตริก2-Hydroxy-1,2,3-propanetricarboxylic acid(HOOC)CH2C(OH)(COOH)CH2(COOH)
กรดไตรเมสิกbenzene-1,3,5-tricarboxylic acidC9H6O6
เอโซล
1,2,3-ไตรเอโซล1H-1,2,3-triazoleC2H3N3
พีโรไดเอโซล1H-1,2,4-triazoleC2H3N3


ใกล้เคียง

โครงข่ายประสาทเทียม โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ โครงข่ายโทรคมนาคมยุคหน้า โครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการ โครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง โครงข่ายคอมพิวเตอร์ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าในประเทศไทย โครงข่ายประสาท

แหล่งที่มา

WikiPedia: โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.20... http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.20... http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/ja800669j http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/jp1044139 //dx.doi.org/10.1039%2Fb610264f http://www.iupac.org/nc/home/projects/project-db/p... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2008... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2009... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2012... http://www.sciencemag.org/content/329/5990/424