โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์
โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์

โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์

โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ (อังกฤษ: Metal−organic Frameworks: MOFs) หมายถึง โครงข่ายในระดับโมเลกุลที่เกิดจากการสร้างพันธะระหว่างไอออนของโลหะและสารอินทรีย์จนเกิดเป็นโครงสร้างขนาดใหญ่ที่เป็นโครงข่าย (framework)ต่อเนื่องไม่สิ้นสุดหรือโครงข่ายอนันต์ (infinite framework)โดยทั่วไปสารอินทรีย์มักจะเป็นสารที่เป็นโมเลกุลแข็งเกร็ง (rigid molecule) เช่น กรด 1,4−เบนซีนไดคาร์บอกซิลิก กรด 1,3,5−เบนซีนไตรคาร์บอกซิลิก 4,4’−ไบพิริดีน เป็นต้น วัสดุโครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์มีศักยภาพในการนำไปประยุกต์ใช้ในหลากหลายแนว อาทิ การเป็นตัวเร่งปฏิกิริยา [1][2] การกักเก็บแก๊ส [3] การคัดเลือกโมเลกุล เป็นต้น ซึ่งปัจจุบันนักเคมีวัสดุสามารถประยุกต์ใช้วัสดุโครงข่ายโลหะสารอินทรีย์ในระดับอุตสาหกรรมได้แล้ว [4]

ใกล้เคียง

โครงข่ายประสาทเทียม โครงข่ายสามเหลี่ยมของรูปหลายเหลี่ยม โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ โครงข่ายโทรคมนาคมยุคหน้า โครงข่ายประสาทเทียมแบบสังวัตนาการ โครงข่ายโทรคมนาคมแห่งชาติ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าขนส่งมวลชนในกรุงเทพมหานครและพื้นที่ต่อเนื่อง โครงข่ายคอมพิวเตอร์ โครงข่ายระบบรถไฟฟ้าในประเทศไทย โครงข่ายประสาท

แหล่งที่มา

WikiPedia: โครงข่ายโลหะ−สารอินทรีย์ http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.20... http://onlinelibrary.wiley.com/doi/10.1002/anie.20... http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/ja800669j http://pubs.acs.org/doi/abs/10.1021/jp1044139 //dx.doi.org/10.1039%2Fb610264f http://www.iupac.org/nc/home/projects/project-db/p... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2008... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2009... http://pubs.rsc.org/en/Content/ArticleLanding/2012... http://www.sciencemag.org/content/329/5990/424