โค่วโถว
โค่วโถว

โค่วโถว

โค่วโถว (จีน: 叩頭) เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงโดยการหมอบกราบ คือการคุกเข่าและก้มศีรษะลงถึงพื้น ในวัฒนธรรมเขตจีน การโค่วโถวเป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงที่สุด การมีใช้อย่างแพร่หลายเพื่อใช้แสดงความเคารพต่อผู้อาวุโส ผู้บังคับบัญชา หรือโดยเฉพาะอย่างยิ่งจักรพรรดิจีน เช่นเดียวกับวัตถุสักการะทางศาสนาและวัฒนธรรม ในยุคปัจจจุบัน การโค่วโถวมีการใช้ที่ลดลง[1]

โค่วโถว

จื๋อฮ้าน 叩頭
ความหมายตามตัวอักษร โขกศีรษะ, แตะศีรษะ
การถอดเสียงอาร์อาร์
การถอดเสียง
อาร์อาร์godu
อักษรจีนตัวเต็ม 叩頭 หรือ 磕頭
อักษรโรมัน hak (wikt:叩頭)
hak (wikt:磕頭, rare)
การถอดเสียงโรมาจิ
การถอดเสียง
โรมาจิkōtō or historical kaitō (นาม); nukazuku or nukatsuku or nukadzuku (กริยา)
ฮันกึล
ฮิรางานะ こうとう หรือ かいとう (นาม); ぬかずく หรือ ぬかつく (กริยา) หรือ ぬかづく (กริยา)
การถอดเสียงภาษาจีนกลางมาตรฐานฮั่นยฺหวี่พินอินIPAภาษาอู๋อักษรโรมันภาษาแคะอักษรโรมันภาษากวางตุ้งมาตรฐานยฺหวิดเพ็งภาษาหมิ่นใต้เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยน
การถอดเสียง
ภาษาจีนกลางมาตรฐาน
ฮั่นยฺหวี่พินอินkòutóu หรือ kētóu
IPA[kʰôu.tʰǒu], [kʰɤ́.tʰǒu]
ภาษาอู๋
อักษรโรมันwuu (磕頭 only)
ภาษาแคะ
อักษรโรมันhak (wikt:叩頭)
hak (wikt:磕頭, rare)
ภาษากวางตุ้งมาตรฐาน
ยฺหวิดเพ็งkau tàuh / kau3 tau4 (wikt:叩頭)
hahp tàuh / hap6 tau4 (wikt:磕頭, rare)
ภาษาหมิ่นใต้
เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยนkhàu-thâu (叩頭)
kha̍p-thâu (磕頭)
โรมาจิ kōtō or historical kaitō (นาม); nukazuku or nukatsuku or nukadzuku (กริยา)
อาร์อาร์ godu
อักษรจีนตัวย่อ 叩头 หรือ 磕头
เป่อ่วยยีภาษาฮกเกี้ยน khàu-thâu (叩頭)
kha̍p-thâu (磕頭)
ยฺหวิดเพ็ง kau tàuh / kau3 tau4 (wikt:叩頭)
hahp tàuh / hap6 tau4 (wikt:磕頭, rare)
ภาษาเวียดนาม quỳ lạy
khấu đầu
ฮ้าน-โนม 跪𥚄
คันจิ 叩頭 หรือ 磕頭(นาม); 叩頭く (กริยา)
IPA [kʰôu.tʰǒu], [kʰɤ́.tʰǒu]
ฮันจา
ฮั่นยฺหวี่พินอิน kòutóu หรือ kētóu