โทมาฮอว์ก_(ขีปนาวุธ)
โทมาฮอว์ก_(ขีปนาวุธ)

โทมาฮอว์ก_(ขีปนาวุธ)

ส่วนขับดัน: 6.25 กม.บีจีเอ็ม-109 โทมาฮอว์ก (อังกฤษ: BGM-109 Tomahawk) เป็นขีปนาวุธร่อนนำวิถีระยะไกล ความเร็วต่ำกว่าเสียง ทุกสภาพกาลอากาศ เปิดตัวครั้งแรกในทศวรรษที่ 1970 โดยบริษัทเจเนอรัลไดนามิกส์ โทมาฮอว์กออกแบบมาให้เป็นขีปนาวุธระยะกลางถึงไกล ความสูงต่ำสามารถปล่อยออกจากฐานยิงหลายรูปแบบ โทมาฮอว์กได้รับการปรับปรุงออกมาหลายรุ่น ปัจจุบันผลิตโดยบริษัทเรเธียน และอีกส่วนหนึ่งผลิตโดยบริษัทแมคดอนเนลล์ดักลาส (ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของโบอิง)[2][3]

โทมาฮอว์ก_(ขีปนาวุธ)

ระบบนำวิถี จีพีเอส, เทอร์คอม, ดีเอสเอ็มเอซี
เครื่องยนต์ วิลเลียมอินเตอร์เนชันแนล F107-WR-402 เทอร์โบแฟน
ใช้ TH-dimer
และส่วนขับดันเชื้อเพลิงแข็ง
น้ำหนัก 1,440 กิโลกรัม (3,170 ปอนด์)
หัวรบ ปกติ: 1,000 ปอนด์ (450 กก) บูลพัพ, หรือใช้เป็นเครื่องยิงหัวรบ บีแอลยู-97/บี, หรือ 200 กต. (840 ทีเจ) ดับบลิว 80 (หัวรบนิวเคลียร์) (ภายใต้ข้อตกลงของ SALT)
ความเร็ว ต่ำกว่าเสียง - ประมาณ 890 กม./ชม. (550 ไมล์ต่อชั่วโมง )
บริษัทผู้ผลิต เจเนอรัลไดนามิกส์ (แรกเริ่ม)
เรเธียน/แมคดอนเนลล์ดักลาส
พิสัยปฏิบัติการ 2,500 กิโลเมตร
ความยาว ปราศจากส่วนขับดัน: 5.56 ม.

ส่วนขับดัน: 6.25 กม.

ประจำการ พ.ศ. 2526 - ปัจจุบัน
ใช้กับ ฐานยิงแนวดิ่ง (VLS) และท่อยิงตอร์ปิโดแนวราบบนเรือดำน้ำ (หรือ TTL (ท่อยิงตอร์ปิโด))
เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.52 ม.
ชนิด ระยะไกล, ทุกสภาพอากาศ, ความเร็วต่ำกว่าเสียง ขีปนาวุธร่อน
มูลค่า $ยูเอสดอลลาร์ 569,000[1]
ความยาวระหว่างปลายปีก 2.67 ม.
กลไกการจุดชนวน เอฟเอ็มยู-148 ตั้งแต่ ทีแลม บล็อก III, หรือ อื่น ๆ ตามแต่ภารกิจ
สัญชาติ  สหรัฐ