ระบาดวิทยาและประวัติความเป็นมา ของ โรคพยาธิตาบอด

มีผู้ที่ได้รับเชื้อโรคตาบอดแถบแม่น้ำประมาณ 17 ถึง 25 ล้านราย โดยเป็นผู้ที่เกิดสายตาเสียไม่มากก็น้อยถึงประมาณ 0.8 ล้านราย[3][7] ส่วนใหญ่การติดเชื้อดังกล่าวเกิดใน อาฟริกาแถบตอนใต้ของทะเลทรายซาฮารา แม้ว่ามีบางรายที่มีรายงานว่าเกิดใน เยเมน และในท้องที่ห่างไกลของอเมริกา กลาง รวมทั้งใน อเมริกาใต้[1] ในปีพ.ศ. 2458 นายแพทย์ โรดอลโฟ โรเบิลส์ เป็นผู้แรกที่เห็นว่าพยาธิดังกล่าวมีความเกี่ยวโยงไปถึงโรคตา[8] ทั้งนี้ องค์การอนามัยโลกจัดให้โรคดังกล่าวอยู่ในรายการ โรคเขตร้อนที่ถูกละเลย[9]

ใกล้เคียง

โรคพยาธิกีเนีย โรคพยาธิแส้ม้า โรคพยาธิไส้เดือน โรคพยาธิใบไม้ในเลือด โรคพยาธิตาบอด โรคพยาธิหอยโข่ง โรงพยาบาลในประเทศไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า

แหล่งที่มา

WikiPedia: โรคพยาธิตาบอด http://books.google.ca/books?id=5vCQpr1WTS8C&pg=PA... http://books.google.ca/books?id=C7OxOqTKYS8C&pg=PA... http://books.google.ca/books?id=RBEVsFmR2yQC&pg=PA... http://www.diseasesdatabase.com/ddb9218.htm http://www.emedicine.com/med/topic1667.htm http://www.emedicine.com/oph/topic709.htm http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=125.... http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?doi=10.10... http://www.cdc.gov/parasites/onchocerciasis/ http://www.cdc.gov/parasites/onchocerciasis/diagno...