สาเหตุและการวินิจฉัย ของ โรคพยาธิตาบอด

พยาธิปรสิตชนิดดังกล่าวแพร่กระจายผ่านทางรอยกัดจาก ริ้นดำ ชนิด ซิมูเลียม [1] ปกติก่อนจะเกิดการติดเชื้อได้ต้องถูกกัดหลายครั้ง[3] ริ้นจำพวกนี้อาศัยอยู่แถบใกล้แม่น้ำ จึงได้เกิดชื่อโรคดังกล่าว[2] หลังจากพยาธิเข้าสู่ร่างกายมนุษย์แล้ว จะสร้าง ตัวอ่อน ที่หาทางออกมาทางผิวหนัง[1] ณ จุดนี้ ตัวอ่อนสามารถทำให้ริ้นดำตัวต่อมาที่มากัดมนุษย์ติดเชื้อต่อ[1] การวินิจฉัยโรคนั้นมีหลายวิธีด้วยกัน ซึ่งได้แก่ การนำ ชิ้นเนื้อตัดส่งตรวจ จากผิวหนังไปใส่ใน น้ำเกลือธรรมดา แล้วเฝ้าสังเกตตัวอ่อนที่จะออกมา การสังเกตหาตัวอ่อนในดวงตารวมทั้งการมองหาพยาธิตัวเต็มวัยในตุ่มใต้ผิวหนัง[4]

ใกล้เคียง

โรคพยาธิแส้ม้า โรคพยาธิใบไม้ในเลือด โรคพยาธิไส้เดือน โรคพยาธิกีเนีย โรคพยาธิตาบอด โรคพยาธิหอยโข่ง โรงพยาบาลในประเทศไทย โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่

แหล่งที่มา

WikiPedia: โรคพยาธิตาบอด http://books.google.ca/books?id=5vCQpr1WTS8C&pg=PA... http://books.google.ca/books?id=C7OxOqTKYS8C&pg=PA... http://books.google.ca/books?id=RBEVsFmR2yQC&pg=PA... http://www.diseasesdatabase.com/ddb9218.htm http://www.emedicine.com/med/topic1667.htm http://www.emedicine.com/oph/topic709.htm http://www.icd9data.com/getICD9Code.ashx?icd9=125.... http://jama.jamanetwork.com/article.aspx?doi=10.10... http://www.cdc.gov/parasites/onchocerciasis/ http://www.cdc.gov/parasites/onchocerciasis/diagno...