ประเภท ของ ไกลโคสะมิโนไกลแคน

GAG ชนิดต่าง ๆ มีความแตกต่างกันในแง่ของชนิดของเฮกโซซามีน เฮกโซส หรือกรดเฮกซูโรนิกที่เป็นองค์ประกอบ (เช่น กรดกลูคูโรนิก กรดไอดูโรนิก กาแลกโตส กาแลกโตซามีน กลูโคซามีน) นอกจากนี้ยังมีความแตกต่างกันในเรขาคณิตของพันธะไกลโคซิดิก

ตัวอย่างของไกลโคสะมิโนไกลแคน เช่น

ชื่อกรดเฮกซูโรนิก / เฮกโซสเฮกโซซามีนเรขาคณิตของพันธะระหว่างหน่วยโมโนเมอร์หลักลักษณะสำคัญ
คอนดรอยตินซัลเฟตGlcUA หรือ GlcUA (2S)GalNAc หรือ GalNAc (4S) หรือ GalNAc (6S) หรือ GalNAc (4S,6S)-4GlcUAβ1-3GalNAcβ1-GAG ที่พบมากที่สุด
เดอร์มาแทนซัลเฟตGlcUA หรือ IdoUA หรือ IdoUA (2S)GalNAc หรือ GalNAc (4S) หรือ GalNAc (6S) หรือ GalNAc (4S,6S)-4IdoUAβ1-3GalNAcβ1-แตกต่างจากคอนดรอยตินซัลเฟตที่มีกรดไอดูโรนิก แม้ว่ากรดเฮกซูโรนิกโมโนแซ็กคาไรด์บางอันอาจเป็นกรดกลูคูโรนิก[1]
คีราแทนซัลเฟตGal หรือ Gal (6S)GlcNAc หรือ GlcNAc (6S)-3Gal (6S) β1-4GlcNAc (6S) β1-คีราแทนซัลเฟต ชนิดที่ 2 อาจถูกเติมน้ำตาลฟิวโคส (fucosylate) [2]
เฮพารินGlcUA หรือ IdoUA (2S)GlcNAc หรือ GlcNS หรือ GlcNAc (6S) หรือ GlcNS (6S)-4IdoUA (2S) α1-4GlcNS (6S) α1-ชีวโมเลกุลเท่าที่รู้จักที่มีความหนาแน่นของประจุลบมากที่สุด
เฮพาแรนซัลเฟตGlcUA หรือ IdoUA หรือ IdoUA (2S)GlcNAc หรือ GlcNS หรือ GlcNAc (6S) หรือ GlcNS (6S)-4GlcUAβ1-4GlcNAcα1-มีโครงสร้างคล้ายกับเฮพารินมาก แต่หน่วยไดแซ็กคาไรด์ของเฮพาแรนซัลเฟตถูกจัดเป็นโดเมนที่มีซัลเฟตและไม่มีหมู่ซัลเฟต[3]
ไฮยาลูโรแนนGlcUAGlcNAc-4GlcUAβ1-3GlcNAcβ1-เป็น GAG ชนิดเดียวที่ไม่มีหมู่ซัลเฟต

อักษรย่อ

  • GlcUA = β-D-glucuronic acid
  • GlcUA (2S) = 2-O-sulfo-β-D-glucuronic acid
  • IdoUA = α-L-iduronic acid
  • IdoUA (2S) = 2-O-sulfo-α-L-iduronic acid
  • Gal = β-D-galactose
  • Gal (6S) = 6-O-sulfo-β-D-galactose
  • GalNAc = β-D-N-acetylgalactosamine
  • GalNAc (4S) = β-D-N-acetylgalactosamine-4-O-sulfate
  • GalNAc (6S) = β-D-N-acetylgalactosamine-6-O-sulfate
  • GalNAc (4S,6S) = β-D-N-acetylgalactosamine-4-O, 6-O-sulfate
  • GlcNAc = α-D-N-acetylglucosamine
  • GlcNS = α-D-N-sulfoglucosamine
  • GlcNS (6S) = α-D-N-sulfoglucosamine-6-O-sulfate