พลังคิ ของ ไอกิโด

นี่คือตัวอักษรคันจิของคำว่า คิ คันจิ จน ค.ศ. 1946 ได้เปลี่ยนเป็น

การศึกษาพลังคิ ki เป็นส่วนสำคัญในวิชาไอกิโด และประกอบไปด้วยการฝึกทั้ง "กาย" และ "ใจ" ตัวอักษรคันจิ คันจิ ของคิ เขียนว่า 氣 เป็นสัญลัษณ์ แสดง ฝาที่ปิดหม้อข้าวที่เต็มอยู่ หรือ "ไออุ่น ที่หล่อเลี้ยง" [48]

อักษรคิ พบบ่อยในคำศัพท์ประจำวันในภาษาญี่ปุ่น เช่น สุขภาพ ญี่ปุ่น: "health" โรมาจิ元気 ทับศัพท์genki, หรือ อาย ญี่ปุ่น: "shyness" โรมาจิ内気 ทับศัพท์uchikiส่วนใหญ่ คิ จะนิยามว่าเป็น การรวมกันของกายกับใจ แต่ในแนวทางดั้งเดิมของศิลปะป้องกันตัว จะนิยามว่า "พลังชีวิต" อาจารย์โกโซ ชิโอดะ ของสำนักโยชินคังไอกิโด Gōzō Shioda's Yoshinkan Aikido ที่เป็นที่รู้จักกันว่าเป็น "สไตล์แข็ง" ที่ปฏิบัติตามแนวทางของอาจารย์ อุเอชิบะ ช่วงก่อนสงครามโลกครั้งที่สอง สรุปความว่า คิ คือ จังหวะการใช้เทคนิค โดยใช้พลังทั้งหมดของกายมุ่งไปที่จุดหนึ่ง [31] ช่วงบั้นปลายของอาจารย์อุเอชิบะ การใช้ คิ จะเริ่มผ่อนคลายลง มาจากการที่ลูกศิษย์ของอาจารย์ ทาเคมูสึ ไอคิ Takemusu และลูกศิษย์รุ่นหลังอีกหลายคน ที่สอนเรื่อง คิ จากมุมนี้ สำนักคีโซไซตี้ ของอาจารย์โคอิชิ โทเฮ Koichi Tohei's Ki Society มุ่งเน้นการศึกษาประสบการณ์การพัฒนา คิ โดยแบ่งแยกระดับผู้เรียนไอกิโด และ ผู้เรียนเรื่อง คิออกจากกัน [49]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ไอกิโด http://www.aikidojournal.com/?id=3104 http://www.aikidojournal.com/article.php?articleID... http://www.aikidojournal.com/article.php?articleID... http://www.aikidojournal.com/article.php?articleID... http://www.aikidojournal.com/article.php?articleID... http://www.aikidojournal.com/article?articleID=12 http://www.aikidojournal.com/article?articleID=123 http://www.aikidojournal.com/article?articleID=263 http://www.aikidojournal.com/article?articleID=7&h... http://www.aikidojournal.com/encyclopedia.php?entr...