ประวัติ ของ ไฮโดรเจนเหลว

ในปี 1885 ซิกเมนต์ ฟลอเรนที เว็บบลิวสกี (Zygmunt Florenty Wroblewski) ได้ตีพิมพ์เผยแพร่ว่าไฮโดรเจนมีอุณหภูมิวิกฤตเป็น 33 K; ความดันวิกฤตที่ 13.3 เท่าของความดันบรรยากาศ; และจุดเดือดที่ 23 K แก๊สไฮโดรเจนถูกทำให้เป็นของเหลวได้โดยเจมส์ ดิววอร์ (James Dewar) ในปี 1898 โดยใช้การระบายความร้อนที่เกิดซ้ำ (regenerative cooling) และโดยการใช้สิ่งประดิษฐ์ของเขา, คือ กระติกสุญญากาศ (vacuum flask) การสังเคราะห์ครั้งแรกของรูปแบบไอโซเมอร์ที่มีเสถียรภาพของไฮโดรเจนเหลว, parahydrogen ประสบความสำเร็จโดยพอล ฮาร์เท็ค (Paul Harteck) และคาร์ล ฟรีดริช บานโฮฟเฟอร์ (Karl Friedrich Bonhoeffer) ในปี 1929

ใกล้เคียง

ไฮโดรเจน ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ ไฮโดรเจนซัลไฟด์ ไฮโดรคอร์ติโซน ไฮโดรเจนโบรไมด์ ไฮโดรคาร์บอน ไฮโดรเจนไซยาไนด์ ไฮโดรเจนคลอไรด์ ไฮโดรเจนฟลูออไรด์ ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์แบบไอระเหย

แหล่งที่มา

WikiPedia: ไฮโดรเจนเหลว http://www.astronautix.com/props/liqirlh2.htm http://www.chemspider.com/762 http://www.phys.ufl.edu/courses/phy4550-6555c/spri... http://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/summary/summary.cg... http://webbook.nist.gov/cgi/fluid.cgi?Action=Load&... http://www.genome.ad.jp/dbget-bin/www_bget?cpd:C00... http://media.iupac.org/publications/pac/1970/pdf/2... http://www.ebi.ac.uk/chebi/searchId.do?chebiId=CHE... http://www.roymech.co.uk/Useful_Tables/Matter/Prop...