จิตพยาธิวิทยา ของ ไฮโปเมเนีย

อาการฟุ้งพล่านและอาการเกือบฟุ้งพล่านปกติจะศึกษาด้วยกันเป็นองค์ประกอบของโรคอารมณ์สองขั้ว โดยจิตพยาธิสภาพของทั้งสองปกติก็จะสมมุติว่าเหมือนกันเพราะทั้งยา norepinephrine และยาโดพามีนอาจจุดชนวนภาวะเกือบฟุ้งพล่าน จึงมีทฤษฎีว่าโรคมีมูลฐานจากระบบประสาทมอโนอะมีน (monoamine) ทำงานเกินทฤษฎีหนึ่งที่รวมอธิบายทั้งภาวะซึมเศร้าและภาวะฟุ้งพล่านสำหรับคนไข้โรคอารมณ์สองขั้วเสนอว่า การควบคุมระบบประสาทมอโนอะมีนอื่น ๆ ที่ลดลงของระบบประสาทเซโรโทนิน (ซึ่งเป็นมอโนอะมีนอย่างหนึ่ง) อาจเป็นเหตุให้เกิดอาการซึมเศร้าหรืออาการฟุ้งพล่านอนึ่ง รอยโรคที่ซีกขวาของสมองกลีบหน้าและกลีบขมับยังได้สัมพันธ์กับอาการฟุ้งพล่านด้วย[14]

แหล่งที่มา

WikiPedia: ไฮโปเมเนีย http://www.behavenet.com/capsules/disorders/bip2di... http://www.behavenet.com/capsules/disorders/hypoma... http://www.behavenet.com/capsules/path/cyclothymia... http://www.bipolaradviceguide.com/ http://www.nimh.nih.gov/health/publications/bipola... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/12807380 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/17555817 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20376289 //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/20975827 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2849176