รัฐสมาชิก ของ กติกาสัญญาวอร์ซอ

รัฐสมาชิกทั้งแปดแห่งในกติกาสัญญาวอร์ซอให้สัตยาบันว่าจะร่วมกันปกป้องรัฐสมาชิกใดก็ตามที่ถูกโจมตี ซึ่งรูปแบบความสัมพันธ์ในหมู่รัฐสมาชิกเป็นแบบความสัมพันธ์สองทาง ไม่ก้าวก่ายกิจการภายในของอีกฝ่าย และเคารพอำนาจอธิปไตยและอิสรภาพทางการเมืองของกันและกัน อย่างไรก็ตามรัฐบาลของรัฐสมาชิกทุกแห่งในกติกาสัญญานี้ล้วนแต่ถูกสหภาพโซเวียตควบคุมทางอ้อมด้วยกันทั้งสิ้น

ในเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2506 สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลียยื่นคำร้องขอเข้าร่วมเป็นรัฐสมาชิกภายใต้มาตรา 9 ของกติกาสัญญานี้ แต่เนื่องจากความสัมพันธ์จีน-โซเวียตที่ร้าวฉานมากขึ้นเรื่อย ๆ ส่งผลให้มองโกเลียมีสถานะเพียงรัฐผู้สังเกตการณ์เท่านั้น ต่อมาในปี พ.ศ. 2509 สหภาพโซเวียตจึงยินยอมให้ตั้งฐานกำลังในมองโกเลีย

ใกล้เคียง

กติกาฟุตบอล กติกาสัญญาวอร์ซอ กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม กติกาสัญญาต่อต้านโคมินเทิร์น กติกาสัญญาความเป็นกลางโซเวียต–ญี่ปุ่น กติการะหว่างประเทศว่าด้วยสิทธิพลเมืองและสิทธิทางการเมือง กติกาสัญญาโมโลตอฟ–ริบเบินทร็อพ กติกาสัญญาไตรภาคี กติกาสัญญาเหล็ก กติกาสัญญาเคลลอก–บริยอง

แหล่งที่มา

WikiPedia: กติกาสัญญาวอร์ซอ http://www.php.isn.ethz.ch/ http://books.google.com/books/about/Konrad_Adenaue... http://books.google.com/books?id=Jm4L_b8CHycC&lpg=... http://www.history.com/this-day-in-history/the-war... http://www.history.com/topics/cold-war/formation-o... http://content.time.com/time/magazine/article/0,91... http://books.google.fr/books?id=f4VHp88-bpAC&dq http://lcweb2.loc.gov/frd/cs/ http://memory.loc.gov/frd/cs/soviet_union/su_appnc... http://www.nato.int/history/nato-history.html