ปฏิบัติการสำคัญ ของ กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ

เหตุกราดยิงที่จังหวัดนครราชสีมา พ.ศ. 2563

กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ ถูกพูดถึงเป็นวงกว้างในปฏิบัติการชิงตัวประกันในเทอร์มินอล 21 โคราช โดยนำกำลังจำนวน 24 นาย[18][19] เข้าร่วมปฏิบัติการในวันที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2563 ซึ่งในขณะนั้นหน่วยยังคงใช้ชื่อว่า กองบังคับการตำรวจมหาดเล็กราชวัลลภรักษาพระองค์ 904 ถูกเรียกในชื่อย่อว่า "ฉก.ทม.รอ.904" และได้ร่วมอพยพประชาชนที่ติดค้างอยู่ในพื้นที่ปะทะและคลี่คลายสถานการณ์ โดยทีม ฉก.ทม.รอ.904 จำนวน 7 นายได้เข้าเคลียร์พื้นที่เพื่อช่วยเหลือตัวประกันที่ได้รับบาดเจ็บ และถูกผู้ก่อเหตุที่ซ่อนอยู่ยิงต่อสู้[20] เจ้าหน้าที่จึงได้ยิงต่อสู้และสังหารผู้ก่อเหตุ[21]

ใกล้เคียง

กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กองบังคับการสนับสนุนทางอากาศ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล กองบัญชาการกองทัพไทย กองบัญชาการตำรวจสันติบาล กองบังคับการตำรวจน้ำ กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ

แหล่งที่มา

WikiPedia: กองบังคับการปฏิบัติการพิเศษ http://copherothailandmagazine.com/archives/27799 https://www.bbc.com/thai/thailand-53590375 https://www.cops-magazine.com/topic/15057/ https://mgronline.com/crime/detail/9630000013152 https://www.posttoday.com https://www.posttoday.com/social/general/635003 https://www.thansettakij.com/general-news/421119 https://www.tnnthailand.com/news/socialtalk/28522/ https://www.komchadluek.net/news/456590 https://www.prachachat.net/general/news-100957