การกระเจิงแบบเรย์ลี
การกระเจิงแบบเรย์ลี

การกระเจิงแบบเรย์ลี

การกระเจิงแบบเรย์ลี (Rayleigh scattering) คือการกระเจิงของแสงโดยอนุภาคที่มีขนาดเล็กกว่าความยาวคลื่นของแสง โดยทั่วไปจะใช้หมายถึงการกระเจิงที่เกิดขึ้นภายในตัวกลางที่เป็นก๊าซ เช่น บรรยากาศโลก โดยเป็นสาเหตุที่ทำให้ท้องฟ้าดูเป็นสีฟ้าในเวลากลางวัน นอกจากนี้แล้วยังอาจเกิดขึ้นในของเหลวและของแข็งที่โปร่งใสได้ด้วย การกระเจิงแบบเรย์ลีได้รับการตั้งชื่อตาม บารอนเรย์ลี (จอห์น วิลเลียม สตรัต) ผู้พยายามอธิบายปรากฏการณ์นี้

ใกล้เคียง

การกราดยิงหมู่ การกรีธาทัพขึ้นเหนือ การกระทำอันเป็นโจรสลัดในโซมาเลีย การกระจายรายได้ การกระตุ้น การกระจัด (เวกเตอร์) การกระตุกหัวใจด้วยไฟฟ้า การกรองตัวเลขในขอบเขตแบบธรรมดา การกระจายอย่างเป็นธรรม การกระเจิงแบบเรย์ลี