การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

อากาศยานมากกว่า 250 ลำ
และรถถัง 2,500-3,000 คันการบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ เป็นเหตุการณ์ที่สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักของสหภาพโซเวียตตามกติกาสัญญาวอร์ซอรุกรานเชโกสโลวาเกียเพื่อยับยั้งการปฏิรูปทางการเมืองของอเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ในช่วงปรากสปริงในคืนวันที่ 20 - 21 สิงหาคม ค.ศ. 1968 สหภาพโซเวียตและพันธมิตรหลักในกติกาสัญญาวอร์ซออันได้แก่บัลแกเรีย ฮังการี เยอรมนีตะวันออก และโปแลนด์ รุกรานสาธารณรัฐสังคมนิยมเชโกสโลวาเกีย[6]ในปฏิบัติการดานูบด้วยกองกำลังทหาร 500,000 นาย[7] ทั้งนี้โรมาเนียและแอลเบเนียซึ่งเป็นรัฐสมาชิกของกติกาสัญญาวอร์ซอปฏิเสธที่จะมีส่วนร่วมในปฏิบัติการดังกล่าว ในขณะที่ฝ่ายเชโกสโลวาเกียมีผู้ได้รับบาดเจ็บ 500 คน และเสียชีวิต 108 คน[8][9]การรุกรานครั้งนี้ประสบความสำเร็จในท้ายที่สุด ส่งผลให้การปฏิรูปและการเปิดเสรีในเชโกสโลวาเกียหยุดชะงักลง ทั้งยังช่วยเสริมสร้างอำนาจของฝ่ายซ้ายภายในพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย (KSČ) ให้เข้มแข็งขึ้น

การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ

วันที่สถานที่ผลลัพธ์
วันที่20 สิงหาคม – 20 กันยายน ค.ศ. 1968
สถานที่เชโกสโลวาเกีย
ผลลัพธ์
  • ชัยชนะของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
  • พิธีสารมอสโก
  • อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
  • กุสตาว ฮูซาก ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย และเริ่มต้นสมัยสมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization)
  • กองทัพโซเวียตวางกำลังในเชกโกสโลวาเกียจนถึงปี ค.ศ. 1991
  • แอลเบเนียถอนตัวออกจากสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอในเดือนกันยายน ค.ศ. 1968
สถานที่ เชโกสโลวาเกีย
ผลลัพธ์
  • ชัยชนะของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ
  • พิธีสารมอสโก
  • อเล็กซานเดอร์ ดุปเชค ลาออกจากตำแหน่งเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย
  • กุสตาว ฮูซาก ได้รับเลือกเป็นเลขาธิการเอกพรรคคอมมิวนิสต์แห่งเชโกสโลวาเกีย และเริ่มต้นสมัยสมัยปรับให้เป็นปกติ (Normalization)
  • กองทัพโซเวียตวางกำลังในเชกโกสโลวาเกียจนถึงปี ค.ศ. 1991
  • แอลเบเนียถอนตัวออกจากสมาชิกกติกาสัญญาวอร์ซอในเดือนกันยายน ค.ศ. 1968
วันที่ 20 สิงหาคม – 20 กันยายน ค.ศ. 1968

ใกล้เคียง

การบุกครองเกาหลีของญี่ปุ่น (ค.ศ. 1592–98) การบุกครองโปแลนด์ การบุกยึดท่าอากาศยานในประเทศไทย พ.ศ. 2551 การบุกครองนอร์ม็องดี การบุกขึ้นเหนือของจูกัดเหลียง การบุกขึ้นเหนือของเกียงอุย การบุกครองโปแลนด์ของสหภาพโซเวียต การบุกเข้าอาคารรัฐสภาสหรัฐ พ.ศ. 2564 การบุกเข้าปราซาดุสเตรสโปเดริส พ.ศ. 2566 การบุกครองยูโกสลาเวีย

แหล่งที่มา

WikiPedia: การบุกครองเชโกสโลวาเกียของฝ่ายกติกาสัญญาวอร์ซอ http://www.time.com/time/magazine/article/0,9171,8... http://aktualne.centrum.cz/czechnews/clanek.phtml?... http://www.ustrcr.cz/en/august-1968-victims-of-the... http://www.ciaonet.org/cbr/cbr00/video/cbr_ctd/cbr... http://www.globalsecurity.org/military/world/war/c... http://lublin.gazeta.pl/lublin/1,35640,14642535,Br...