พลังงาน ของ การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย

แทนค่า ω2 ด้วย k/m พลังงานจลน์ K ของระบบที่เวลา t มีค่าเท่ากับ

K ( t ) = 1 2 m v 2 ( t ) = 1 2 m ω 2 A 2 sin 2 ⁡ ( ω t − φ ) = 1 2 k A 2 sin 2 ⁡ ( ω t − φ ) , {\displaystyle K(t)={\tfrac {1}{2}}mv^{2}(t)={\tfrac {1}{2}}m\omega ^{2}A^{2}\sin ^{2}(\omega t-\varphi )={\tfrac {1}{2}}kA^{2}\sin ^{2}(\omega t-\varphi ),}

และพลังงานศักย์ของระบบมีค่าเท่ากับ

U ( t ) = 1 2 k x 2 ( t ) = 1 2 k A 2 cos 2 ⁡ ( ω t − φ ) . {\displaystyle U(t)={\tfrac {1}{2}}kx^{2}(t)={\tfrac {1}{2}}kA^{2}\cos ^{2}(\omega t-\varphi ).}

เมื่อไม่มีแรงเสียดทานและไม่มีการสูญเสียพลังงาน ผลรวมของพลังงานกล(mechanical energy) จะมีค่าคงตัว

E = K + U = 1 2 k A 2 {\displaystyle E=K+U={\tfrac {1}{2}}kA^{2}}

ใกล้เคียง

การเคลื่อนที่ (ฟิสิกส์) การเคหะแห่งชาติ (ประเทศไทย) การเคลื่อนที่แบบบราวน์ การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ การเคลื่อนไหวของกลุ่มแอลจีบีที การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย การเคลื่อนย้ายเรลิก การเคลื่อนถอยของวิษุวัต การเคลื่อนไหวเอง การเคลื่อนลงตามความชัน