กฎหมายควบคุมการเดินขบวนในแต่ละท้องที่ ของ การเดินขบวน

สหราชอาณาจักร

ตาม "พระราชบัญญัติความผิดอาญาอุกฉกรรจ์ซึ่งกระทำเป็นองค์กรและการตำรวจ ค.ศ. 2005" (Serious Organised Crime and Police Act 2005) และ "พระราชบัญญัติการก่อการร้าย ค.ศ. 2006" (Terrorism Act 2006) "พื้นที่ต้องห้าม" (protected site) เป็นท้องที่ที่ห้ามประชาชนเข้าไป เดิมได้แก่ กรมกองทหารและคลังแสงนิวเคลียร์ ต่อมาได้ร่วมท้องที่ทางการเมือง เช่น ถนนดาวนิง (Downing Street) พระราชวังเวสต์มินสเตอร์ (Palace of Westminster) เป็นต้น เข้าไปด้วย[7]

สหรัฐอเมริกา

ในการแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนูญแห่งสหรัฐอเมริกาเป็นครั้งแรก (First Amendment of the United States Constitution) ได้อนุญาตให้เดินขบวนและชุมนุมอย่างสันติ โดยเป็นมาตรการหนึ่งเพื่อปลดเปลื้องความเดือดร้อนสาธารณะ[8]

ใกล้เคียง

การเดินทางข้ามเวลา การเดินทางของคิโนะ การเดินละเมอฆาตกรรม การเดินป่าในเพชรพระอุมา การเดินทางของคุณแม่มด การเดินขบวน การเดินเรือ การเดินทางของกัลลิเวอร์ การเดินทาง (เพลงสุชาติ แซ่เห้ง) การเดินทัพทางไกล

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเดินขบวน http://www.pinr.com/report.php?ac=view_report&repo... http://www.thehedgefundjournal.com/commentary/inde... http://www.washtimes.com/world/20060802-124603-718... http://lists.asu.edu/cgi-bin/wa?A2=ind9905e&L=chin... http://www.archives.gov/national-archives-experien... http://www.rferl.org/featuresarticle/2004/11/9965b... http://www.guardian.co.uk/monarchy/story/0,,204180... https://commons.wikimedia.org/wiki/Category:Demons...