การเรืองแสงของบรรยากาศจากการเหนี่ยวนำ ของ การเรืองแสงของบรรยากาศ

ภาพถ่ายเรืองแสงของโลกแรกของ SwissCube-1 (เปลี่ยนจากความถี่ใกล้อินฟราเรดเป็นสีเขียว) เมื่อวันที่ 3 มีนาคม ค.ศ. 2011

มีการทดลองทางวิทยาศาสตร์เพื่อเหนี่ยวนำให้เกิดการเรืองแสงของบรรยากาศ โดยการปล่อยคลื่นวิทยุกำลังสูงที่บรรยากาศชั้นไอโอโนสเฟียร์ของโลก[10] โดยที่ความยาวคลื่นเฉพาะเจาะจงและภายใต้เงื่อนไขบางประการ[11] คลื่นวิทยุเหล่านี้มีปฏิสัมพันธ์กับไอโอโนสเฟียร์เพื่อเหนี่ยวนำแสงที่มองเห็นได้แต่จาง ๆ นอกจากนี้ยังสามารถสังเกตผลกระทบได้ในย่านความถี่วิทยุโดยใช้ไอโอโนซอน

ใกล้เคียง

การเรียนรู้ของเครื่อง การเร่งปฏิกิริยา การเรืองแสงของบรรยากาศ การเร็นเดอร์ การเรียนรู้เชิงลึก การเรียน การเรียกชื่อสารเคมีตามระบบไอยูแพ็ก การเรียงลำดับแบบฟอง การเรียกยานพาหนะคืนของโตโยต้า พ.ศ. 2552−2553 การเร่งโดยอาศัยแอนติบอดี

แหล่งที่มา

WikiPedia: การเรืองแสงของบรรยากาศ http://swisscube.epfl.ch/ http://www.space.com/scienceastronomy/mars_glow_05... http://www.stsci.edu/hst/stis/performance/backgrou... //pubmed.ncbi.nlm.nih.gov/19164595 //www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC2633570 http://www.nrl.navy.mil/content.php?P=04REVIEW106 //arxiv.org/abs/1002.3637 //doi.org/10.1021%2Fcen-v087n004.p011a //doi.org/10.1029%2F2008je003133 //doi.org/10.1038%2F1831480a0