การแบ่งเขตภูมิอากาศ ของ การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน

การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพินนั้นแบ่งเขตภูมิอากาศเป็นกลุ่มใหญ่ ๆ 5 กลุ่ม (อันประกอบด้วยกลุ่ม A, B, C, D และ E) แต่ละกลุ่มใหญ่จะมีประเภทของเขตภูมิอากาศแบบต่าง ๆ อยู่ โดยแต่ละประเภทจะเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์อักษรภาษาอังกฤษตั้งแต่ 2 ถึง 4 ตัวอักษร

กลุ่ม A (ภูมิอากาศแบบร้อนชื้น)

ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นมีลักษณะพิเศษคืออุญหภูมิที่ค่อนข้างสูงบริเวณระดับน้ำทะเล ตลอดเวลา 12 เดือนใน 1 ปี จะมีอุณหภูมิเฉลี่ยประมาณ 18 องศาเซลเซียส (64 องศาฟาเรนไฮต์) หรือสูงกว่านี้ ภูมิอากาศแบบร้อนชื้นสามารถแบ่งได้เป็นเขตภูมิอากาศย่อย ๆ ดังนี้

กลุ่ม B (ภูมิอากาศแบบแห้งแล้ง)

ภูมิอากาศแบบแห้งแล้งเป็นบริเวณที่มีการระเหยของน้ำสูง ไม่มีปริมาณฝนเหลือพอที่จะเป็นแหล่งต้นน้ำลำธาร ปรากฏทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น แบ่งเป็นภูมิอากาศย่อยดังนี้[2]

กลุ่ม C (ภูมิอากาศแบบอบอุ่นชื้นแถบละติจูดกลาง)

กลุ่ม D (ภูมิอากาศแบบชื้นภาคพื้นทวีป)

กลุ่ม E (ภูมิอากาศแบบขั้วโลก)

ใกล้เคียง

การแบ่งกลุ่มข้อมูลแบบเคมีน การแบ่งโปแลนด์ การแบ่งเขตภูมิอากาศแบบเคิพเพิน การแบ่งอินเดีย การแบ่งแยกนิวเคลียส การแบ่งโล่ (มุทราศาสตร์) การแบ่งสรรปันส่วนแบบสัดส่วนคู่ การแบ่งประเภทสนามฟุตบอลของยูฟ่า การแบ่งกลุ่มข้อมูล การแบ่งชนิดและสัณฐานของดาราจักร